ผลและความปลอดภัยของครีมจากการใช้สารสกัดตำรับสหัศธาราเพื่อบรรเทา อาการปวดเข่าในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิ: การศึกษานำร่อง

Main Article Content

ฐปนนท์ สัวกิตติกุล
บุญชนะ พงษ์เจริญ
อรุณพร อิฐรัตน์
ศรีโสภา เรืองหนู
ภูริทัต กนกกังสดาล
ธันญาดา เลิศดำรงค์เดช

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาแนวโน้มของผลลัพธ์จากการใช้ครีมสารสกัดตำรับสหัศธาราในการบรรเทาอาการปวดเข่าของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิ วิธีการ: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิ จำนวน 20 คน อาสาสมัครได้รับครีมจากสารสกัดตำรับสหัศธารา ทาบริเวณเข่าที่มีอาการปวดครั้งละ 2 กรัม วันละ 3 ครั้ง (เช้า-กลางวัน-เย็น) เป็นเวลา 2 สัปดาห์ การศึกษาประเมินผลจาการเปลี่ยนแปลงก่อน-หลังทายาด้วยแบบประเมินความเจ็บปวด VAS ประเมินสมรรถภาพข้อเข่าด้วย Modified  WOMAC  ฉบับภาษาไทย และการวัดระยะเวลาการเดินบนพื้นราบ 100 เมตร  ส่วนการประเมินความปลอดภัยใช้การซักประวัติและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการศึกษา: อาสาสมัครที่ได้รับครีมจากสารสกัดตำรับสหัศธารามีแนวโน้มคะแนนเฉลี่ยของทุกการประเมินลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังไม่พบอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ และไม่พบการเปลี่ยนแปลงในการทำงานของตับและไต สรุป: ครีมจากสารสกัดตำรับสหัศธารามีแนวโน้มลดอาการปวดเข่าและมีความปลอดภัย ผลการศึกษาในครั้งนี้สามารถนำไปต่อยอดในการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิของครีมจากสารสกัดตำรับสหัศธารากับยาแผนปัจจุบันในการวิจัยทางคลินิกระยะที่ 2 ต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ฐปนนท์ สัวกิตติกุล, นักศึกษาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (แพทย์แผนไทยประยุกต์) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

นักศึกษาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (แพทย์แผนไทยประยุกต์)

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี 12120

หมายเลขโทรศัพท์ 0948918889                                                                                          

Email : [email protected]                                                                                                             

บุญชนะ พงษ์เจริญ, ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี 12120

Email: [email protected]

ศรีโสภา เรืองหนู, สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และศูนย์ความเป็น เลิศทางการวิจัยแพทย์แผนไทย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 

ภูริทัต กนกกังสดาล, สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และศูนย์ความเป็น เลิศทางการวิจัยแพทย์แผนไทย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 

โทรศัพท์ : 02-9269746

Email: [email protected]

ธันญาดา เลิศดำรงค์เดช, นักศึกษาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (แพทย์แผนไทยประยุกต์) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

นักศึกษาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (แพทย์แผนไทยประยุกต์)

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี 12120

หมายเลขโทรศัพท์ 087-0151122                                                                                          Email : [email protected]                                                                                                              

References

National Statistical Office. Population from registra tion classified by age group [online]. 2017 [cited Feb 12, 2020]. Available from: statbbi.nso.go.th/ stati creport/page/sector/th/01.aspx

Louthrenoo W. Epidemiology. In: Louthrenoo W. Osteoarthritis. Chiangmai: Thanabannakarn; 2003. p.25-31.

Brooks P. Inflammation as an important feature of osteoarthritis. Bull World Health Organ 2003; 81: 689-90.

Zhang W, Nuki G, Moskowitz RW, Abramson S, Altman RD, Arden NK, Bierma-Zeinstra S, Brandt KD, Croft P, Doherty M, Dougados M. OARSI recommendations for the management of hip and knee osteoarthritis: part III: Changes in evidence following systematic cumulative update of research published through January 2009. Osteoarthr Cartil 2010; 18: 476-99.

Richmond J, Hunter D, Irrgang J, Jones MH, Levy B, Marx R, Snyder-Mackler L, Watters III WC, Haral son III RH, Turkelson CM, Wies MJ. Treatment of osteoarthritis of the knee (nonarthroplasty). J Am Acad Orthop Surg. 2009; 17: 591.

Kawinwonggowit V. Osteoarthritis of the knee [online]. 2017 [cited Feb 12, 2020]. Available from med.mahidol.ac.th/ortho/sites/default/files/public/file/pdf/knee_book_0.pdf

Ministry of Health, Thailand. Thai national list of essential medicines 2019 [online]. 2019 [cited Feb 12, 2020]. Available from: drug.fda.moph.go.th:81/ nlem.in.th/.

Kakatum N. Anti-inflammatory activity of thai traditional remedy extract for muscle pain treatment called Sahastara and its plant ingredients [master thesis]. Patumtani: Thammasat university; 2011.

Pinsornsak P, Kanokkangsadal P, Itharat A. The clinical efficacy and safety of the Sahastara remedy versus diclofenac in the treatment of osteoarthritis of the knee: A double-blind, randomized, and controlled trial. Evid Based Complement Alternat Med. 2015; 103046.

Kanokkangsadal P, Chakkavittumrong P, Itharat A. Irritant reaction of Sahastara remedy ethanolic extract on the skin of healthy volunteers.In:Han J/editor. NATPRO7 The 7th International Confe- rence on Natural Products; 2018 Oct 18-20; Gyeongju, Korea.Dongyang Creative Design; 2018. p.86

Kellgren JH, Lawrence JS. Radiological assessment of osteo-arthrosis. Ann Rheum Dis 1957; 16:494–502. doi: 10.1136/ard.16.4.494.

Komoltri C. Sample size calculation. Journal of Mental Health of Thailand 2012; 20: 192-8.

Bellamy N, Campbell J, Welch V, Gee TL, Bourne R, Wells GA. Viscosupplementation for the treat ment of osteoarthritis of the knee. Cochrane Data base of Systematic Reviews. 2006, Issue 2. Art. No.:CD005321.DOI:10.1002/14651858.CD005321.pub2

Kuptniratsaikul V and Rattanachaiyanont M. Validation of a modified Thai version of the Western Ontario and McMaster (WOMAC) osteoarthritis index for knee osteoarthritis. Clin Rheumatol. 2007; 26: 1641–5.

Predel HG, Giannetti B, Pabst H, Schaefer A, Hug AM, Burnett I. Efficacy and safety of diclofenac diethylamine 1.16% gel in acute neck pain: a randomized, double-blind, placebo-controlled study. BMC Musculoskelet Disord 2013; 14: 250.

Khunsopitbunnalak. Khum-Pee-Pad-Thai-Pan-Bo-Lan vol. 2. Bangkok: Ministry of Public Health; 1970.

Bae GS, Kim MS, Jung WS, Seo SW, Yun SW, Kim SG, Park RK, Kim EC, Song HJ, Park SJ. Inhibition of lipopolysaccharide induced inflammatory responses by piperine. Eur J Pharmacol 2010; 642: 154-62.