ผลของอัตราการให้ยา Protamine ต่อค่าการแข็งตัวของเลือด ในผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจหลังใช้เครื่องปอดหัวใจเทียม

ผลของอัตราการให้ยา Protamine ต่อค่าการแข็งตัวของเลือด

ผู้แต่ง

  • ณัชฎา ศุภกิจเจริญ -

คำสำคัญ:

ยา protamine, การใช้เครื่องปอดหัวใจเทียม, การผ่าตัดหัวใจชนิดเปิด

บทคัดย่อ

การผ่าตัดหัวใจแบบเปิดต้องใช้เครื่องปอดหัวใจเทียมเพื่อช่วยทำหน้าที่แทนปอดและหัวใจในระหว่างผ่าตัดและต้องให้ยา heparin เพื่อ ป้องกันการแข็งตัวของเลือดจากการใช้เครื่องปอดหัวใจเทียม โดยหลัง การผ่าตัดเสร็จสิ้นต้องให้ยาต้านฤทธิ์การทำงานของยา heparin คือ  ยา protamine เพื่อให้การแข็งตัวของเลือดกลับมาเป็นปกติดังเดิมการ ศึกษาแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มเปรียบเทียบและปกปิดสองทางนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของอัตราการให้ยา protamine ที่มีต่อ ค่าการแข็งตัวของเลือดในผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจหลังใช้เครื่องปอดหัวใจ เทียม ซึ่งพบว่าเมื่อให้ยา protamine ด้วยอัตรา 5 มิลลิกรัมต่อนาที เปรียบเทียบกับการให้ยา protamine ด้วยอัตราเท่ากับปริมาณยา  protamine ที่คำนวณได้ทั้งหมดภายใน 15 นาที พบว่าค่าการแข็งตัว ของเลือดไม่แตกต่างกัน จึงสรุปได้ว่าการให้ยา protamine เพื่อต้าน ฤทธิ์การทำงานของยา heparin ในระยะเวลา 15 นาทีมีผลลัพธ์เทียบ เท่าการให้ด้วยอัตรา 5 มิลลิกรัมต่อนาที

Author Biography

ณัชฎา ศุภกิจเจริญ, -

กลุ่มงานวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000

References

Freundlich RE, Duggal NM, Housey M, Tremper TT, Engoren MC, Kheterpal S. Intraoperative medications associated with hemodynamically significant anaphylaxis. J Clin Anesth 2016;35:415-23.

Ferraris VA, Brown JR, Despotis GJ, Hammon JW, Reece TB, Saha SP, et al. 2011 update to the Society of Thoracic Surgeons and the Society of Cardiovascular Anesthesiologists blood conservation clinical practice guidelines. Ann Thorac Surg 2011;91(3):944-82.

Boer C, Meesters MI, Veerhoek D, Vonk ABA. Anticoagulant and side-effects of protamine in cardiac surgery: a narrative review. Br J Anaesth 2018;120(5):914-27.

Kimmel SE, Sekeres M, Berlin JA, Ellison N. Mortality and adverse events after protamine administration in patients undergoing cardiopulmonary bypass. Anesth Analg 2002;94(6):1402-8.

Weiler JM, Gellhaus MA, Carter JG, Meng RL, Benson PM, Hottel RA, et al. A prospective study of the risk of an immediate adverse reaction to protamine sulfate during cardio pulmonary bypass surgery. J Allergy Clin Immunol 1990;85(4):713-9.

Welsby IJ, Newman MF, Phillips-Bute B, Messier RH, Kakkis ED, Stafford-Smith M. Hemodynamic changes after protamine administration: association with mortality after coronary artery bypass surgery. Anesthesiology 2005;102(2):308-14.

Khan NU, Wayne CK, Barker J, Strang T. The effects of protamine overdose on coagulation parameters as measured by the thrombelastograph. Eur J Anaesthesiol 2010;27(7):624-27.

Apnis A, Sehgal S, LeffJ. Intraoperative management of carotid endarterectomy. Anesthesiol Clin 2014;32(3):677-98.

Bohmer A, Defosse J, Geldner G, Rossaint R, Zacharowski K, Zwissler B, et al. The updated ASA classification. Anasth Intensiv Med 2021;62:223-27.

Tongyoo S. Monitoring central venous pressure (Part 1/2). Clin Crit Care [Internet]. 2016 Dec 28 [cited 2022 Aug 18];24(3):7-12. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ccc/article/view/253090

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-26