ผลของโปรแกรมสุขภาวะ ลดภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนของเด็กวัยเรียนในโรงเรียน บ้านห้วยหว้า ตำบลห้วยบง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

Authors

  • ดวงใจ วิชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

Abstract

This Quasi-experimental Research aimed to study the effects of healthy programs to reduce overweight and obesity among school-age children in Ban Huai Wa school, Huai Bong sub-district, Mueang Chaiyaphum district, Chaiyaphum province. The volunteers of the study were 16 school-age children, aged 6-12 years old who were overweight and obese. The tools used in the experiment were: The manual of obesity and overweight reduction in students, 8-weeks walking, brisk walking, and the aerobic exercise program schedule, 8-week food consumption and physical exercise record form. Data were collected by interview form concerning the knowledge, attitude, and behavior of students regarding food consumption and physical exercise, which its content validity was improved and adjusted by the suggestion of experts. KR-20 was used to test the reliability of knowledge was 0.73, and Cronbach’s alpha coefficient was used to test the reliability of attitude and behavior were 0.72 and 0.74, respectively. The data were statistically analyzed by using descriptive statistics. Moreover, Wilcoxon Signed Rank Test was also used to compare mean differences between groups.

The result showed that the school-age children had knowledge, attitude, and behavior regarding food consumption and physical exercise after interventions at high level () which were higher than before interventions at  (), and ) ) at the level of statistical significance (p-value = 0.008, 0.016, and 0.001, respectively).

            In conclusion, Health promotion to reduce obesity and overweight in school-age is a process that should be developed in a school context since it is consistent with service management guidelines, and teaching and learning management in schools, whether preparing healthy food and healthy exercise which    if processed continuously, it will encourage students to instill good health behaviors, have good health costs and reduce the risk of developing chronic non-communicable diseases, also.

Keywords: Healthy Program, Overweight and Obesity, School-age children

References

กรมอนามัย. (2564). การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาฐานข้อมูลสุขภาพเด็กวัยเรียนวัยรุ่นและกลไกการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ เขตสุขภาพที่ 9 ปีงบประมาณ 2564.

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2565). ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ระดับเขตสุขภาพ. สืบค้นวันที่ 28 มิ.ย. 2565 จาก https://shorturl.asia/WE0Y5

จตุพร จำรองเพ็ง และคณะ. (2562). ผลของโปรแกรมควบคุมน้ำหนักต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกายและน้ำหนักตัวของเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกิน. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 13(1), 3-9.

นภาเพ็ญ จันทขัมมา และคณะ. (2563). ผลของโปรแกรมการควบคุมภาวะน้ำหนักเกินโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานของนักเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนนทบุรี. วารสารแพทย์นาวี, 47(2), 301-314.

ไมลา อิสสระสงคราม และทัศนีย์ บุญประคอง. (2562). ผลของโปรแกรมการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียนของผู้เลี้ยงดู. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น, 26(1), 36-44.

วราวรรณ สมบุญนาค. (2563). ประสิทธิผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายในนักเรียนประถมศึกษาที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน. วารสารสุขศึกษา, 43(1), 38-46.

ศิรดา เสนพริก. (2560). ผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถของตนเองในเด็กที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนขจรเกียรติศึกษา จังหวัดภูเก็ต. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5(2), 299-312.

ศุภลักษณ์ ศรีธัญญาและคณะ. (2562). ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการทำกิจกรรมทางกายของเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกิน. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 31(2), 87-95.

อัศรีย์ พิชัยรัตน์ และวรารัตน์ ทิพย์รัตน์. (2557). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายตามแนวคิดพันธมิตรสุขภาพต่อน้ำหนักตัวของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในเขตชนบท จังหวัดตรัง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมชนกราชชนนี กรุงเทพ. 30(3), 66-74

อรอนงค์ ชูแก้ว. (2558). ได้ศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการตนเองด้านโภชนาการต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักของเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะอ้วน. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

World Health Organization. Facts about overweight and obesity [online]. 2021 [cited 2021/7/20]. Available from: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/obesity-and-overweight

Downloads

Published

2024-06-01

How to Cite

วิชัย ด. (2024). ผลของโปรแกรมสุขภาวะ ลดภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนของเด็กวัยเรียนในโรงเรียน บ้านห้วยหว้า ตำบลห้วยบง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ. KKU Journal for Public Health Research, 17(1), 15–22. retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/259216