การพัฒนาระบบการพยาบาลเจ้าของไข้ ห้องผู้ป่วยหนักแผนกกุมารเวชกรรม

ระบบการพยาบาลเจ้าของไข้สำหรับผู้ป่วยหนัก

ผู้แต่ง

  • สุมิตรา โพธิ์ปาน กลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยหนัก กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก 65000
  • กมลชนก มากมา ห้องผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด 1 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก 65000
  • วิธศมน วุฒิศิรินุกูล ห้องผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด 2 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก 65000
  • อัญชลี อินทะเสน ห้องผู้ป่วยหนักกุมารเวชกรรมกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก 65000

คำสำคัญ:

ระบบการพยาบาลเจ้าของไข้, ห้องผู้ป่วยหนัก, แผนกกุมารเวชกรรม

บทคัดย่อ

ผู้ป่วยหนักทารกและเด็กต้องได้รับบริการพยาบาลที่มีคุณภาพมากที่สุด การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและ ประเมินประสิทธิผลของระบบการพยาบาลเจ้าของไข้ ห้องผู้ป่วยหนัก แผนกกุมารเวชกรรม ผู้ร่วมวิจัยคือพยาบาลวิชาชีพในห้องผู้ป่วยหนัก แผนกกุมารเวชกรรม 45 คน การวิจัยมี 3 ระยะ คือ 1) วิเคราะห์ปัญหา และวางแผน 2) ลงมือปฏิบัติและสังเกตการณ์ 3) สะท้อนผล รวมเวลา 7  เดือน ผลการศึกษาได้ระบบการพยาบาลเจ้าของไข้ห้องผู้ป่วยหนัก แผนกกุมารเวชกรรม หรือ "the PN2CF system" ประกอบด้วย P  (primary nurses), N (nursing process and nursing care  plan), C (CNPG), C (chief nurse and buddy) และ F (family  center care) หลังนำระบบการพยาบาลฯ มาใชพ้ บวา่ ใหผ้ ลลัพธท์ ี่ดี  ดังนี้ ดา้ นผูใ้ ชบ้ ริการพบวา่ อัตราการเสียชีวิต, อัตราการเกิด VAP,  อัตราการเกิด CLABSI, อัตราการเกิด ROP stage 3, อัตราการเกิด IVH, อัตราการเกิดภาวะ septic shock, อัตราการเกิดภาวะ respiratory  failureจาก pneumonia ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05)  อีกทั้งความพึงพอใจของครอบครัวพบว่าอัตราการได้รับนมมารดาและ อัตราการเฝ้าของครอบครัวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05)
ด้านผู้ให้บริการ ได้แก่ ความรู้ของพยาบาล การปฏิบัติบทบาทพยาบาลเจ้าของไข้ การใช้กระบวนการพยาบาลและความพึงพอใจต่อระบบฯ  เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) ด้านองค์กรพบว่าจำนวน วันนอนเฉลี่ยของผู้ป่วยลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) จึง ควรนำระบบนี้มาใช้ในห้องผู้ป่วยหนักแผนกกุมารเวชกรรมต่อไป

References

Department of Older Persons, Ministry of Social Development and Human Security. Older statistics [Internet]. 2022 [cited 2022 Oct 11]. Available from: URL: https://www.dop.go.th/th

Strategy and Planning Division, Ministry of Public Health. Population demographics [Internet]. 2022 [cited 2022 Oct 11]. Available from: URL: https://spd.moph.go.th/

Noynark P. Preterm neonates and low birth weight with respiratory distress syndrome. Singburi Hosp J 2020;29(1):8-14.

Neonatal Intensive Care Unit, Pediatric Department. Annual report 2021. Phitsanulok, Thailand: Buddhachinaraj Phitsanulok Hospital; 2021.

Pediatric Intensive Care Unit, Pediatric Department. Annual report 2021. Phitsanulok, Thailand: Buddhachinaraj Phitsanulok Hospital; 2021.

Boonthi L. The development of nursing process in nursing practice of professional nurses. Phutthaisong Hospital, Buriram Province Master's thesis]. Faculty of Nursing, KhonKaenUniversity; 2009 [Internet]. 2022 [cited 2022 Oct 11]. Available from: URL: https://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/169276

Marram GD, Schlegel MW, Bevis EO. Primary nursing: a model for individualized care. St. Louis, Missouri State, USA: The C.V. Mosby; 1974.

Saeng-Ubon K, Seethalanuchit M. Development of a primary nursing service system in the Intensive Care Unit of Saimai Hospital. Eau Heritage JS Technol 2015;9(3):208-17.

Jongwutthiwet N. The concept of community development. Bangkok, Thailand: Community Development Department, Ministry of Interior; 2007.

Kemmis S. Participatory action research and the public sphere. Educ Action Res 2006;14(4):459-76.

Heale R, Forbes D. Understanding triangulation in research. Evid-Based Nurs 2013;16(4):98-8.

Ketwiraphong S. Developing a primary nursing model in a surgical intensive care unit at Phrae Hospital [Master's thesis]. Faculty of Nursing, Naresuan University;2006 [Internet]. 2022 [cited 2022 Oct 11]. Available from: URL: https://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/169276

Etikan I, Musa SA, Alkassim RS. Comparison of convenience sampling and purposive sampling. Amer J Theor Appl Stat 2016;5(1);1-4.

Youngjaroen S, Wisesrith W. Effects of a primary nursing model on quality of care as perceived by relatives of critical ill patients and nurses' satisfactions. Thai J Cardio-Thorac Nurs 2015;26(2):53-67.

Apichutboonchock S. Parents' participation on their preterm development support in Neonatal Intensive Care Unit. Vajira Med J 2013;57(1):65-72.

Hill C, Knafl KA, Santacroce SJ. Familycentered care from the perspective of parents of children cared for in a Pediatric Intensive Care Unit: an integrative review. J Pediatr Nurs 2018;16(41):22-33.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-01-13