การเจ็บป่วยจากความร้อนในการออกกำลังกาย: การรักษาฉุกเฉินและการป้องกัน

การเจ็บป่วยจากความร้อนในการออกกำลังกาย

ผู้แต่ง

  • ชมพูนุท แสงพานิชย์ กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก

คำสำคัญ:

การเจ็บป่วยจากความร้อน, โรคลมร้อน, การออกกำลังกาย

บทคัดย่อ

จากสภาวะโลกร้อนที่อุณหภูมิมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การออกกำลังกายในสภาพอากาศร้อนนั้นร่างกายมีกลไกการปรับสมดุลความ ร้อนเพื่อควบคุมอุณหภูมิกายให้ปกติ หากกลไกควบคุมอุณหภูมินี้ ทำงานผิดปกติไปจากการได้รับความร้อนและไม่สามารถระบายความ ร้อนได้ ส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยจากความร้อน ซึ่งมีอาการตั้งแต่ไม่ รุนแรง ได้แก่ กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ลมแดด เพลียแดด และที่รุนแรงที่สุด จนเป็นอันตรายต่อชีวิตคือโรคลมร้อน บทความนี้นำเสนอสรีรวิทยาของ ร่างกายกับความร้อน ลักษณะทางคลินิก การวินิจฉัย ปัจจัยเสี่ยง และ การรักษาภาวะเจ็บป่วยจากความร้อนในการออกกำลังกาย โดยเฉพาะ โรคลมร้อนที่ต้องได้รับการวินิจฉัยและให้การรักษาโดยวิธีลดอุณหภูมิ กายอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ตั้งแต่ที่เกิดเหตุ ระหว่างนำส่งโรงพยาบาลและ ที่ห้องฉุกเฉิน จะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิต  ไดซึ้่งการเจ็บป่วยจากความอันเป็นภาวะที่ป้องกันได้  ดังนั้น แนวทาง การป้องกันและวางแผนเมื่อออกกำลังกาย จึงเป็น สิ่งสำคัญ 

References

Ministry of Tourism and Sports. Road Race Manual, Thailand. Bangkok, Thailand;Ministry of Tourism and Sports; 2019.

Announcement of the Department of Disease Control. Health risk and disease prevention during summer in Thailand, 2021 (announcement date March 15, 2021)

Asmara IGY. Diagnosis and management of heatstroke. Acta Med Indones 2020;52(1):90-7.

Frank LV. Heat emergencies. In: Tintinalli JE, editor. Tintinalli's emergency medicine: a comprehensive study guide. 9th ed. New York City, New York State: McGraw-Hill; 2020. p.1345-50.

Lipman GS, Gaudio FG, Eifling KP, Ellis MA, Otten EM, Grissom CK. Wilderness medical society clinical practice guidelines for the prevention and treatment of heat illness: 2019 Update. Wilderness Environ Med 2019;30(4S):S33-46.

Robert G, Bryce KM. Heat-related illnesses. Am Fam Physician 2019;99(8):482-9.

Epstein Y, Yanovich R. Heatstroke. N Engl J Med 2019;380(25):2449-59.

Leyk D, Hoitz J, Becker C, Glitz KJ, Nestler K, Piekarski C. Health risks and interventions in exertional heat stress. Dtsch Arztebl Int 2019;116(31-32):537-44.

Rublee C, Dresser C, Giudice C, Lemery J, Sorensen C. Evidence-based heatstroke management in the emergency department. West J Emerg Med 2021;22(2):186-95.

Casa DJ, DeMartini JK, Bergeron MF, Csillan D, Eichner ER, Lopez RM, et al. National athletic trainers' association position statement: exertional heat illnesses. J Athl Train 2015;50(9):986-1000.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-05-23