Skip to main content
Skip to main navigation menu
Skip to site footer
Open Menu
หน้าแรก
ฉบับปัจจุบัน
Archives
About
เกี่ยวกับวารสาร
การส่งบทความ
กองบรรณาธิการ
Privacy Statement
Contact
Search
Register
Login
Home
/
Archives
/
ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (2023): มกราคม - มิถุนายน
ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (2023): มกราคม - มิถุนายน
เผยแพร่แล้ว:
2023-05-15
ฉบับเต็ม
PDF
รายงานผู้ป่วย
กรณีศึกษา การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับคอ
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับคอ
thinvisut srilamai
1
กรณีศึกษา การพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีภาวะหายใจลำบาก: กรณีศึกษา
นิศานาถ ชีระพันธุ์
10
การพยาบาลเด็กโรค Spinal muscular atrophy ที่ใช้เครื่องช่วยหายใจที่บ้าน : กรณีศึกษา
apinya rongmuang
กรณีศึกษา การพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุโรคต้อกระจกที่ได้รับการผ่าตัดและมีโรคร่วม : กรณีศึกษา
Ratchaneekorn Manusilp
33
กรณีศึกษา การพยาบาลเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าตั้งแต่ระยะเริ่มแรก โดยการโค้ชผ่านสื่อมัลติมีเดีย ในสถานการณ์โคโรน่าไวรัส 2019: กรณีศึกษา 2 ราย
Nursing care for children with early developmental delays by coaching through multimedia in the coronavirus disease 2019 situation: 2 case studies
Panomgorn Chanvech
43
บทความวิชาการ
บทความวิชาการ การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายแบบครบวงจร
บทคัดย่อ ผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายมีความจำเป็นต้องได้รับการดูแลแบบประคับประคองควบคู่กับการรักษาหลักเนื่องจากผู้ป่วยมะเร็งระยะท้าย มีความทุกข์ทรมานจากการเจ็บปวด และอาการไม่สุขสบายต่างๆ เป็นการดูแลที่มีความซับซ้อน ซึ่งต้องตอบสนองทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เพื่อให้ผู้ป่วยเหล่านี้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถเผชิญกับอาการเจ็บป่วยและความทุกข์ทรมาน จวบจนวาระท้ายของชีวิต การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะท้าย และเพื่อศึกษาผลลัพธ์การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายในโรงพยาบาลขอนแก่น โดยใช้แนวคิดพัฒนาคุณภาพ PDCA 4 ขั้นตอนของเดมมิ่ง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ แพทย์ 7 คน พยาบาลปฏิบัติการ 26 คน ผู้ป่วยมะเร็งระยะท้าย 60 คน ผู้ดูแลหลัก 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1.เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัย ได้แก่ แนวทางการคัดกรองและแนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะท้าย คู่มือการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายสำหรับญาติ คู่มือการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายสำหรับพยาบาล แนวทางการบริหารยา Opioid และแนวทางการส่งต่อในผู้ป่วยมะเร็งระยะท้าย 2.เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบบันทึกการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง และแบบประเมินความพึงพอใจในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะท้าย ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายเข้าถึงบริการแบบประคับประคองเพิ่มขึ้น 24.25% 3.ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับยา Strong Opioid บรรเทาอาการทุกข์ทรมานลดลง มากกว่า 50% ภายใน 48-72 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 73.44 ผู้ป่วยระยะท้ายและครอบครัวได้รับการวางแผนดูแลล่วงหน้า คิดเป็นร้อยละ 75 และได้รับการส่งต่อเครือข่าย คิดเป็นร้อยละ 95 ความพึงพอใจของครอบครัวต่อการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายอยู่ในระดับมาก ( x ̅ = 4.61, SD ± 0.58) ความพึงพอใจของผู้ให้บริการต่อการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายอยู่ในระดับมาก ( x ̅ = 4.50, SD ± 0.48) สรุปได้ว่าการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายแบบครบวงจร ทำให้ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลแบบประคับประคองตามมาตาฐานจนถึงวาระสุดท้าย และผู้ป่วยระยะท้ายเข้าถึงการดูแลรักษาแบบประคับประคองจากทีมสุขภาพ ครอบครัว ชุมชน ผู้ป่วยระยะท้ายและครอบครัวได้รับข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ และมีส่วนร่วมในการวางแผนดูแลล่วงหน้า
srisuda srimongkol
54
บทความวิชาการ การนิเทศของอาจารย์นิเทศและพยาบาลพี่เลี้ยงในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล : ความท้าทาย
Jintana Suwittawat
Make a Submission
Make a Submission
Information
สำหรับผู้อ่าน
สำหรับผู้แต่ง
สำหรับบรรณารักษ์
Language
English
ภาษาไทย
homethaijo
Home ThaiJo
manual
คู่มือการใช้ระบบ
สำหรับ ผู้แต่ง
สำหรับ ผู้ประเมิน
flagcounter
ผู้เยี่ยมชม
เริ่มนับ: 05-08-2021
นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
Privacy policy