Developing a Training Program of Village Health Volunteers’ Competency Enhancement Using the New Approach of 4E(s) for Managing NCDs, Takhob Sub-district, Pakthongchai District, Nakhon Ratchasima Province การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแนวใหม่ด้วยหลัก 4 อ. ตำบลตะขบ อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา
Main Article Content
Abstract
NCDs management is one of the duties by village health volunteer cooperating with health staff. There has never been a specific training program for new approach of NCDs management using the principle of 4E(s). The researchers have studied and developed the training program to enhance the competency for NCDs management using participatory action research method (PAR). A total of 50 village health volunteers of a community in Pakthongchai District, Nakhon Ratchasima Province was selected. This study was divided into 4 phases consisting of: phase (1), investigating the preliminary data, phase (2), developing a training program with community participation, phase (3) trying out the developed training program and phase (4), adjusting the training program of improvement. The results showed that:
- The training program for village health volunteers to enhance the competency of NCDs in new management using the principles of 4E(s). The program were 6 elements: (1) rationale and background, (2) objectives, (3) contents, (4) activities, (5) media use, and (6) measure and evaluation. It was contained into 5 units of learning, 35 hours, including (1) present situation of diseases, (2) NCDs contents, (3) body imbalances with disease aspects, (4) dealing with NCDs using the principle of 4E(s), and (5) management skills in dealing with NCDs.
- The effectiveness of the training program were measured by village health volunteers’ competency. Mean score of the NCDs management at before and after development showed that in after the program, there was a statistically significant mean score of the management higher than the before (p<0.001) and assessment of achievement of the program (E1/E2) comparing with the criteria of 80/80 using quizzes and the management skills. The E1/E2 of 86.87/89.65 of the assessment was found which is above the identifying criteria. This indicates the training program probably use to enhance village health volunteers’ competency for dealing NCDs in community.
- Results in after the training program showed that all the participants of risk group with NCDs (100%) could control the risk of diseases by themselves, as the result, it might not become a new patient with NCDs. All the patients with NCDs were able to control their disease conditions and can be preventing the disease complications (100%). In addition, significance result of the study also found that 13 patients (30.95%) with NCDs could be reduced in drug use and 18 patients (62.07%) with hyperlipidemia could be stopped in taking the drug by a medical doctor.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข. ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559. [อินเตอร์เน็ต] [เข้าถึงเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2563 ]. เข้าถึงได้จาก http://bps2moph.go.th/ sites/default/files/kpimoph59.pdf.
วิชัย เอกพลากร และ คณะ. การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. 2557.
กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการ. หลักสูตรอบรม อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน ปีพุทธศักราช 2556 สำหรับครูพี่เลี้ยงระดับจังหวัด. เอกสารอัดสำเนา. 2556.
สำนักคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2561-2564). สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ .กรุงเทพฯ. 2561.
กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ สำหรับพื้นที่ งบประมาณ ปี 2563. เอกสารอัดสำเนา. 2563.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. รายงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2562 . นครราชสีมา. เอกสารอัดสำเนา. 2562.
โรงพยาบาลปักธงชัย.รายงานผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2562-2563. โรงพยาบาลปักธงชัย อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา. เอกสารอัดสำเนา. 2563.
สมเกียรติ อินทะกนก และ คณะ. การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง:กรณีศึกษาพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำซับ อำเภอ ปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา. 2564; 27(1): 56-67.
Parry. The Quest for Competencies. Training. 1996; 7(33): 48-56.
Hagan. Competence in Socail Work Practice: A practice Guide for Professionals. London: Jessica Kingley. 1996.
Knowles. The Adult Learner. A Neglected Species. 2 nd ed. Houston: Gulf Publishing. 1978.
Bandura, A. Gauging the relationship between self-efficacy judgment and action. Cognitive Therapy and Research 1980; 4: 263-268.
ศิริพร พึ่งเพ็ชร์. การพัฒนารูปแบบกรสอนภาษาอังกฤษที่สอดคล้องกับลีลา การเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา.ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต.สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. 2553.
อรรถวิทย์ สิงห์ศาลาแสง และ คณะ. การพัฒนาศักยภาพพระสงฆ์ ในการป้องกันโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรัง ตำบลหนองพลวง อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 2565. 28(1): 88-100.
กุลชญา ลอยหา และ คณะ. การเสริมสร้างศักยภาพบทบาทของนักจัดการสุขภาพชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในเขตตำบลบุเปือย อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น. 2560; 24(1): 1-13.
เพ็ญจันทร์ แสนประสาน. ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต่อความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด. 2558; 26(1): 119-132.
วีระยุทธ ชาตากาญจน์. การวิจัยเพื่อพัฒนาบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2557.
Taba, H. Curriculum Development Theory and Practice. New York: Harcourt, Brace and World. 1962.
Kemmis S. & Mc Taggart R. The Action research planner.3rd ed. Deakin University press: Victoria. 1998.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. หลักสูตรฝึกอบรม ยา 8 ขนาน สังหาร NCDs (สร้างเสริมสมรรถนะการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ด้วยหลัก 4 อ.). นครราชสีมา: โคราชมาเก็ตติ้ง. 2563.
อรรถวิทย์ สิงห์ศาลาแสง และ ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์. การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะผู้สูงอายุในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง โรงเรียนผู้สูงวัยสัมฤทธิ์วิทยา ตำบลสัมฤทธิ์ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา. 2561; 24(2): 81 - 89.