ภาวะหมดไฟในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์: การสร้างพลังใจ

ผู้แต่ง

  • นริสา วงศ์พนารักษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม https://orcid.org/ 0000-0002-6215-4334

คำสำคัญ:

พลังใจ, ภาวะหมดไฟในการทำงาน, บุคลากรทางการแพทย์

บทคัดย่อ

ภาวะหมดไฟในการทำงานกำลังเป็นปัญหาสำคัญของระบบสาธารณสุขทั่วโลก บุคลากรทางการแพทย์เป็นกลุ่มที่พบว่ามีภาวะหมดไฟในการทำงานอยู่ในระดับสูง พลังใจจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการป้องกันและฟื้นคืนสภาพหลังมีภาวะหมดไฟในการทำงาน บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอภาวะหมดไฟในการทำงาน และกลยุทธ์ในการสร้างพลังใจเพื่อเผชิญภาวะหมดไฟในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ ผลการทบทวนวรรณกรรมพบว่า บุคลากรทางการแพทย์มีภาวะหมดไฟในการทำงานเกิดจากด้านปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านการทำงาน และปัจจัยด้านชีวิตความเป็นอยู่ อันส่งผลต่อความอ่อนล้าทางอารมณ์ การเมินเฉยต่องาน และความสามารถในการทำงาน ดังนั้น กลยุทธ์ในการสร้างพลังใจ คือ บุคลากรทางการแพทย์ควรหาความรู้เพื่อสามารถตะหนักในสัญญาณเตอนภาวะหมดไฟในการทำงาน และแสวงหาแหล่งช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต สร้างพลังใจให้ตนเอง  ฝึกฝนและพัฒนาตนเองในทักษะที่จำเป็น ปรับวิธีคิดและมุมมองต่อปัญหา ปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทำงาน ผู้บริหารองค์กรสุขภาพควรเห็นความสำคัญของภาวะหมดไฟและสร้างบรรยากาศองค์กรที่มีความสุข เพื่อลดภาวะหมดไฟในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์

Author Biography

นริสา วงศ์พนารักษ์, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

References

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2565). รายงานข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุขประจำปี 2565. [ฉบับออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม2566] จาก: https://spd.moph.go.th/wp-content/uploads/2023/07/Report-Health-Resource-65.pdf.

กชามาส วิชัยดิษฐ, อารยา ประเสริฐชัยม & ปกกมล เหล่ารักษาวงษ์. (2565). ภาวะหมดไฟในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลของรัฐ ในจังหวัดชุมพร. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 30(3), 211-21.

กิตติยา รุ่งเลิศสิทธิกุล. (2565). ภาวะหมดไฟและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในบุคลากรโรงพยาบาลสมุทรปราการช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 67(3), 240-254.

ดุษฏี อุดมอิทธิพงศ์, กฤตนัย แก้วยศ, & เกยูรมาศ อยู่ถิ่น. (2557). ความเหนื่อยล้าในการทำงานของพยาบาล. วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา, 8(2), 40-53.

ฐัชญา แตงอุทัย, เกศกัญญา สัพพะเลข, นันทิกา ทวิชาชาติ, ผกาภรณ์ พันธุวดี พิศาลธุรกิจ, อาทิพันธุ์ พิมพ์ขาวขำ, & ศิริชัย เกียรติถาวรเจริญ. (2563). ภาวะความเครียดและเหนื่อยล้าของทันตแพทย์ประจำบ้านศัลยกรรมช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียลในประเทศไทย. วารสารศัลย์ช่องปาก-แม็กซิลโลเฟเชียล, 34 (2), 118-125.

ณัฐนันท์ ฤทธิ์สำเร็จ, ธีระวุธ ธรรมกุล, & ปกกมล เหล่ารักษาวงษ์. (2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะหมดไฟในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาลเอกชน อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา, 17(1), 86-99.

ณัฐพล พูลวิเชียร, & วุฒิชัย จริยา. (2566). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เขตสุขภาพที่ 2. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 32(1)ม 151-164.

นิธิพัฒน์ เมฆขจร. (2564). ความยืดหยุ่นทางจิตใจ (Resilience): วิถีใหม่ของการเสริมสร้างพลังใจเพื่อการเผชิญชีวิตวิกฤตในยุคปัจจุบัน. วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 11, 1-9.

นิตยา เพ็ญศิรินภา. (2564). ภาวะเหนื่อยล้าจากงานของบุคลากรสุขภาพในช่วงโรคโควิด-19 ระบาด. วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน, 3(3), 1-16.

นครินทร์ ขุนงาม. (2563). สุขภาพจิตและภาวะหมดไฟในการทำงานของแพทย์ในโรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนครราชสีมา. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 28(4), 348-59.

นพวรรณ ใจคง, จินดาวรรณ ธรรมปรีชา, ฤทธิกร ศิริประเสริฐโชค, & ธนวัฒน์ พิมลจินดา. (2563). นโยบายการบริหารกับการขาดแคลนพยาบาลวิชาชีพ. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 18(2), 241-259.

บุญช่วย ศิลาหม่อม, วรรณี เดียวอิศเรศ, & อารีรัตน์ ขำอยู่. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ Generation Y โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 36(1), 62-71.

ปิยะวดี สุมาลัย. (2564). ภาวะหมดไฟในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ สถาบันบำราศนราดูร. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, 4 (2), 66-78.

พิไลภัสสร์ ฉัตรชัยกุลศิริ. (2564). ความชุกและปัจจัยเสี่ยงที่สัมพันธ์กับภาวะเหนื่อยล้าในการทำงานของบุคคลากรทางการแพทย์สถาบันประสาทวิทยาในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 2019. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 66(4), 439-454.

พริษฐ์ โพธิ์งาม, นันทพร ภัทรพุทธ, & ศรีรัตน์ ล้อมพงศ์. (2565). ภาวะสุขภาพจิตและภาวะหมดไฟในการทำงานในระหว่างการระบาดของโรคโควิด-19 ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งของจังหวัดชลบุรี. วารสารพยาบาลทหารบก, 23(2), 364-371.

พัชราภรณ์ สิณัตพัฒนะศุข, & ธนาสิทธิ์ วิจิตราพันธ์. (2565). ปัจจัยเสี่ยงของภาวะหมดไฟในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 31(1), 154-163.

พรชัย สิทธิศรันย์กุล. (2563). ภาวะหมดไฟไม่ใช่โรค แต่เป็นปรากฏการณ์เหตุอาชีพ. Chulalongkorn Medical Bulletin, 2(2), 115-119.

สิมาพร พรมสาร, ปิยะณัฐ พรมสาร, & กนกวรรณ รัตนแสงเลิศ. (2564). ความเครียดและภาวะหมดไฟในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลศิริราชระหว่างการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. เวชสารแพทย์ทหารบก, 74(3), 197-204.

โสภิณ แสงอ่อน, พัชรินทร์ นินทจันทร์, & จุฑาทิพย์ กิ่งแก้ว. (2561). ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตนักศึกษาพยาบาล. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 32(1)ม 150-167.

โสฬวรรณ อินทสิทธิ์, & สิริกุล จุลคีรี. (บรรณาธิการ). (2563). เปลี่ยนร้ายกลายเป็นดี RQ: พลังสุขภาพจิต พาคุณก้าวผ่านวิกฤตและความไม่แน่นอนของชีวิตได้อย่างสง่างาม (พิมพ์ครั้งที่ 4). นนทบุรี: บริษัท บียอนด์พับลิสชิ่ง จำกัด.

สสิพรรธน์ นิลสงวนเดชะ, & ณภัควรรต บัวทอง. (2559). ภาวะเหนื่อยหน่ายในการทำงานและกลวิธีในการเผชิญปัญหาของพนักงานองค์การเภสัชกรรม. Chulalongkorn Medical Journal, 60(5), 545-560.

สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ กรมสุขภาพจิต. (2566). ตรวจสุขภาพใจ MENTAL HEALTH CHECK IN. [สืบค้นเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2566] จาก: แหล่https://checkin.dmh.go.th/contact.

ศรีสกุล เฉียบแหลม, & เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์. (2562). ภาวะหมดไฟในการทำงาน. แพทยสารทหารอากาศ, 65(2), 44-52.

ศิวัช ธำรงวิศว, จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์, & วิศรุต ศรีสินทร .(2562). ความเหนื่อยล้าจากการทำงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสงขลานครินทร์. เวชสารแพทย์ทหารบก, 72(3), 177-185.

อัจฉรา สุขารมณ์. (2559). การฟื้นฟูพลังใจในภาวะวิกฤต. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 4(1), 209-220.

Armstrong, S.J., Porter, J.E., Larkins, J.A., & Mesagno, C. (2022). Burnout, stress and resilience of an Australian regional hospital during COVID-19: a longitudinal study. [Electronic version]. BMC Health Service Research, [cited 2023 Jan 2] Available from: https://doi.org/10.1186/s12913-022-08409-0.

Castillo-González, A., Velando-Soriano, A., De La Fuente-Solana, E.I., Martos-Cabrera, B.M., Membrive-Jiménez, M.J., Lucía, R.B., & Cañadas-De La Fuente, G.A. (2023). Relation and effect of resilience on burnout in nurses: A literature review and meta-analysis. International Nursing Review, [cited 2023 Jan 2] Available from: doi: 10.1111/inr.12838. Epub ahead of print. PMID: 37000679.

Ferreira, P., & ve Gomes, S. (2021). The Role of Resilience in Reducing Burnout: A Study with Healthcare Workers during the COVID-19 Pandemic. Social Sciences, [cited 2023 Jan 2]. Available from: doi:10.3390/socsci10090317.

Jamebozorgi, M.H., Karamoozian, A., Bardsiri, T.I., & Sheikhbardsiri, H. (2022). Nurses Burnout, Resilience, and Its Association with Socio-Demographic Factors During COVID-19 Pandemic. Frontiers in psychiatry, [cited 2023 Mar 1]. Available from: https://doi.org/10.3389/fpsyt.2021.803506.

Lubbadeh, T. (2020). Job burnout: a general literature review. International Review Management Marketing; 10: 7-15.

Maslach, C., & Jackson, S.E. The Measurement of Experienced Burnout. Journal of Organizational Behavior 1981, 2, 99-113.

Maslach, C.P., & Leiter, M. (2016). Understanding the burnout experience: recent research and its implications for psychiatry. World Psychiatry; 15(2):103-11.

Mahmoud, N.N., & Rothenberger, D. (2019). From Burnout to Well-Being: A Focus on Resilience. Clinics in colon and rectal surgery, 32(6), 415–423.

Nishimura, Y., Miyoshi, T., Hagiya, H., Kosaki, Y., & Otsuka, F. (2021). Burnout of Healthcare Workers amid the COVID-19 Pandemic: A Japanese Cross-Sectional Survey. International Journal of Environmental and Public Health, 18(5):2434.

Taranu, S.M., Ilie, A.C., Turcu, A.M., Stefaniu, R., Sandu, I.A., Pislaru, A.I., et al. (2022). Factors Associated with Burnout in Healthcare Professionals. International Journal Environmental Research and Public Health, [cited 2023 Mar 1]. Available from: https://doi.org/10.3390/ ijerph192214701.

Torrente, M., Sousa, P.A., Sánchez-Ramos, A., Pimentao, J., Royuela A, Franco, F., et al. (2021). To burn-out or not to burn-out: a cross-sectional study in healthcare professionals in Spain during COVID-19 pandemic. BMJ Open. 11(2), e044945. doi: 10.1136/bmjopen-2020-044945.

World Health Organization. (2019). Burn-out an occupational phenomenon: international Classification of Diseases [Internet]. Geneva: World Health Organization, [cited 2021 Mar 18]. Available from: https://www.who.int/mental_health/evidence/burn-out/en/.

Weichel, C., Lee, J.S., & Lee, J.Y. (2021). Burnout among Hospital Pharmacists: Prevalence, Self-Awareness, and Preventive Programs in Pharmacy School Curricula. The Canadian journal of hospital pharmacy, 74(4), 309–316.

Zemni, I., Dhouib, W., Sakly, S., Bennasrallah, C., Gara, A., Kacem, M., et al. (2023). Burnout syndrome among health care workers during the COVID-19 pandemic. A cross sectional study in Monastir, Tunisia. PLoS ONE, 8(3), e0282318. [cited 2021 Mar 18]. Available from: https://doi.org/10.1371/journal.pone.0282318.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-01