การมีโรคร่วมและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการก่อนการรักษาต่อการเกิดภาวะพิษต่อตับจากยารักษาวัณโรค : บทความวิชาการ
คำสำคัญ:
ภาวะพิษต่อตับ, วัณโรค, ยารักษาวัณโรค, โรคร่วม, ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการบทคัดย่อ
วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตของประชากรทั่วโลก การรักษาวัณโรคด้วยยารักษาวัณโรคแนวที่ 1 (Isoniazid, Rifampicin, Pyrazinamide และ Ethambutol) สามารถก่อให้เกิดภาวะพิษต่อตับ ซึ่งเป็นหนึ่งในอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยารักษาวัณโรคที่พบได้บ่อย บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะพิษต่อตับจากยารักษาวัณโรค ทำการทบทวนวรรณกรรมจากบทความวิจัยที่เผยแพร่ตีพิมพ์ในฐานข้อมูลระดับชาติและนานาชาติ นำเสนอผลการทบทวนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะพิษต่อตับจากยารักษาวัณโรคด้วยแผนภาพต้นไม้ (Forest plot) ด้วยการกำหนดจากค่าขนาดของผลกระทบ (Effect size) และช่วงความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 (95% confidence interval; 95% CI) จากการทบทวนดังกล่าว พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะพิษต่อตับจากยารักษาวัณโรค ได้แก่ การมีโรคร่วมและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการก่อนการรักษา สำหรับปัจจัยการมีโรคร่วม ได้แก่ 1) การติดเชื้อและระยะของการติดเชื้อเอชไอวี 2) การป่วยด้วยโรคตับอักเสบและการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิด บี และ ซี 3) โรคมะเร็ง 4) โรคเบาหวาน 5) โรคเบาหวานร่วมกับการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี 6) ภาวะไตวาย 7) โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ 8) การป่วยด้วยโรคอื่น ๆ ส่วนปัจจัยผลตรวจทางห้องปฏิบัติการก่อนการรักษา ได้แก่ 1) อัลบูมิน 2) บิลลิรูบิน 3) ค่าเอนไซม์ตับ 4) ปริมาณของ CD4 5) การตรวจพบเชื้อเอชไอวีในเลือด และ 6) โคเลสเตอรอล ทั้งนี้ จากปัจจัยดังกล่าวบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ดูแลผู้ป่วยวัณโรค ควรเฝ้าระวังการเกิดภาวะพิษต่อตับจากยาอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคร่วมและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการก่อนการรักษาผิดปกติ เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะพิษต่อตับจากยารักษาวัณโรคต่อไป
References
กองวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2562). สถานการณ์วัณโรคของประเทศไทย. ค้นเมื่อ 13 มกราคม 2564, จาก https://www.tbthailand.org/download/Factsheet_TB.pdf.
ขวัญชนก เจนวีระนนท์. (2560). รูปแบบการคัดกรองและประเมินภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รักษาในโรงพยาบาล: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วิทยานิพนธ์ปริญญาเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ณัฐดนัย เนียมทอง. (2561). CD4 คืออะไร. ค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2563, จาก https://www.scimath.org/article-science/item/
-cd4
ถิรนันท์ กลัดพ่วง, ธนิยา เชี่ยวชาญ, & รัชนู เจริญพักตร์. (2555). สูตรยาต้านวัณโรคหลังผู้ป่วยเกิดภาวะตับอักเสบระหว่างรักษา
วัณโรค ในสถาบันบำราศนราดูร ปี 2548-2552. วารสารควบคุมโรค, 38(4), 306-317.
ธีระ พิรัชวิสุทธิ์. (2546). บทความฟนวิชา โรคตับอักเสบจากไวรัส ซี. วารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตร์บริการโลหิต, 13(2),
-166.
นวพรรณ จารุรักษ์. (2006). ไขมันในเลือด: ความสำคัญทางคลินิกและการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ. จุฬาลงกรณ์เวชสาร, 50(7), 443-458.
ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์. (2562). วิธีการวิจัยทางสาธารณสุข (ฉบับปรับปรุง). สงขลา: นำศิลป์โฆษณา.
พิมพ์ภากร ชเนตต์มหรรฆ์. (2551). การตรวจนับ CD4+ Lymphocyte ในผู้ป่วยเอดส์ ด้วยชุดตรวจ CD4+ SELECTTM โดยเครื่องวิเคราะห์เม็ดเลือด ABX-Micros 60. ขอนแก่น: สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เมดไทยดอทคอม. (2562). การตรวจ Direct bilirubin (บิลิรูบินชนิดละลายน้ำ) คืออะไร ?. ค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2563, จาก https://medthai.com/การตรวจ-direct-bilirubin/
โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาการุณ. (2563). มะเร็ง คืออะไร? ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2563, จากhttps://www.siphhospital.com/th/ news/article/share/240
วิระพล ภิมาลย์. (2559). หลักการใช้ยารักษาโรคตับ. มหาสารคาม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วิลาวัณย์ ทองเรือง. (2557). ภาวะพิษต่อตับจากยาต้านวัณโรค: อุบัติการณ์ กลไก และการจัดการ. วารสารไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ, 7(4), 197-204.
ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ โรงพยาบาลเปาโล. (2563). ตับอักเสบ. ค้นเมื่อ 29 กันยายน 2563, จาก http://poalohospital.com/ th-th/phahol/Article/Details/บทความ-ทางเดินอาหารและตับ/ตับอักเสบ
สภาเทคนิคการแพทย. (2560). คูมือการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี สําหรับเทคนิคการแพทย์. กรุงเทพฯ: พี.เอส.เซอร์วิส.
สาริณีย์ กฤติยานันต์, รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์, ศุภกิจ วงศ์วิวัฒนนุกิจ, & วิศาล สุทธิพัฒนางกูร. (2545). ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับจากยาต้านวัณโรคในผู้ป่วยคนไทย. ไทยเภสัชสาร, 26(3-4), 121-128.
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค. (2560). แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อ
เอชไอวี ประเทศไทย ปี 2560. นนทบุรี: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2561). แนวทางการควบคุมวัณโรคประเทศไทย พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ:
อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์.
สุรศักดิ์ เอกพงศ์ไพสิฐ, & ธีระ พิรัชวิสุทธิ์. (2559). ภาวะตับวายเฉียบพลัน (Acute liver failure). ค้นเมื่อ 29 กันยายน 2563, จาก http://samitivejhospitals.com/th/ภาวะตับวายเฉียบพลัน/
อรสา ตั้งสายัณห์. (2560). การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลือง. [ม.ป.ท.: ม.ป.พ.].
Ali, A. H., Belachew, T., Yami, A., & Ayen, W. Y. (2013). Anti-tuberculosis drug induced hepatotoxicity among TB/HIV co-infected patients at Jimma University Hospital, Ethiopia: Nested case-control study. Plos One, 8(5), 1-8.
American Diabetes Association. (2005). Diagnosis and classification of diabetes mellitus. Diabetes Care, 28, S37-S42.
Anand, A. C., Seth, A. K., Paul, M., & Puri, P. (2004). Risk factors of hepatotoxicity during anti-tuberculosis treatment. Medical Journal, Armed Forces India, 62(1), 45-49.
Babalik, A., Arda, H., Bakirci, N., Agca, S., Oru, K., Kizilta, S., et al. (2012). Management of and risk factors related to hepatotoxicity during tuberculosis treatment. Tuberk Toraks, 60(2), 136-144.
Bindroo, S. & Challa H.J. (2018). Renal Failure. Retrieved October 1, 2020, from https://www.researchgate.net/ publication/327321601_Renal_Failure
Bouazzi, O. E., Hammi, S., Bourkadi, J., Tebaa, A., Tanani, D. S., Bencheikh, R. S., et al. (2016). First line anti-tuberculosis induced hepatotoxicity: incidence and risk factors. Pan African Medical Journal, 25(167), 1-10.
Facino, R. M., & Carini, M. (1980). The inhibitory effect of pyrazinamide on microsomal monooxygenase activities is related to the binding to reduced cytochrome P-450. Pharmacol Res Commun, 12(6), 523-537.
Fernández-Villar, A., Sopeña, B., Fernández-Villar, J., Vázquez-Gallardo, R., Ulloa, F., Leiro, V., et al. (2004).
The influence of risk factors on the severity of anti-tuberculosis drug-induced hepatotoxicity. International Journal of Tuberculosis and Lung Disease, 8(12), 1499-1505.
Khalili, H., Dashti-Khavidaki, S., Rasoolinejad, M., Rezaie, L., & Etminani, M. (2009). Anti-tuberculosis drugs related hepatotoxicity; incidence, risk factors, pattern of changes in liver enzymes and outcome. DARU Journal of Pharmaceutical Science, 17(3), 163-167.
Lomtadze, N., Kupreishvili, L., Salakaia, A., Vashakidze, S., Sharvadze, L., Kempker, R. R. et al. (2013). Hepatitis C virus co-infection increases the risk of antituberculosis drug-induced hepatotoxicity among patients with pulmonary tuberculosis. Plos One, 8(12), 1-11.
Mahmood, K., Hussain, A., Jairamani, K. L., Talib, A., Abbasi, B., & Salkeen, S. (2007). Hepatotoxicity with antituberculosis drugs: The risk factors. Pakistan Journal of Medical Sciences, 23(1), 33-38.
Marzuki, O. A., Fauzi, A. R. M., Ayoub, S., & Kamarul I. M. (2008). Prevalence and risk factors of antituberculosis drug-induced hepatitis in Malaysia. Singapore Medical Journal, 49(9), 688-693.
Mohi-Ud-Din, R., & Lewis, J. H. (2004). Drug- and chemical-induced cholestasis. Clinics in Liver Disease, 8(1), 95-132.
Nader, L. A., de Mattos, A. A., Picon, P. D., Bassanesi, S. L., De Mattos, A. Z., & Pineiro Rodriguez, M. (2010). Hepatotoxicity due to rifampicin, isoniazid and pyrazinamide in patients with tuberculosis: Is anti-HCV a risk factor? Annals of Hepatology, 9(1), 70-74.
Nishimura, Y., Kurata, N., Sakurai, E., & Yasuhara, H. (2004). Inhibitory effect of antituberculosis drugs on human cytochrome P450-mediated activities. Journal of Pharmacological Sciences, 96(3), 293-300.
Ramappa, V., & Aithal, G. P. (2012). Hepatotoxicity Related to Anti-tuberculosis Drugs: Mechanisms and Management. Journal of Clinical and Experimental Hepatology, 3(1), 37-49.
Satyaraddi, A., Velpandian, T., Sharma, S. K., Vishnubhatla, S., Sharma, A., Sirohiwal, A., et al. (2014). Correlation of plasma anti-tuberculosis drug levels with subsequent development of hepatotoxicity. International Journal of Tuberculosis and Lung Disease, 18(2), 188-195.
Schaberg, T., Rebhan, K., & Lode, H. (1996). Risk factors for side-effects of isoniazid, rifampin and pyrazinamide in patients hospitalized for pulmonary tuberculosis. European Respiratory Journal, 9(10), 2026-2030.
Shakya, R., Rao, B.S., & Shrestha, B. (2004). Incidence of hepatotoxicity due to antitubercular medicines and assessment of risk factors. Annals of Pharmacotherapy, 38, 1074-1079.
Sharma, S. K., Balamurugan, A., Saha, P. K., Pandey, R. M., & Mehra, N. K. (2002). Evaluation of clinical and immunogenetic risk factors for the development of hepatotoxicity during antituberculosis treatment. American Journal of Respiratory and Critical Care Medicine, 166(7), 916-919.
Shen, X., Yuan, Z., Mei, J., Zhang, Z., Guo, J., Wu, Z., et al. (2014). Anti-tuberculosis drug-induced liver injury in Shanghai: Validation of Hy’s law. Drug Safety, 37(1), 43-51.
Shu, C.C., Lee, C.H., Lee, M.C., Wang, J.Y., Yu, C.J., & Lee, L.N. (2013). Hepatotoxicity due to first-line anti-tuberculosis drugs: A five-year experience in a Taiwan medical centre. International Journal of Tuberculosis and Lung Disease, 17(7), 934-939.
Singla, R., Sharma, S. K., Mohan, A., Makharia, G., Sreenivas, V., Jha, B., et al. (2010). Evaluation of risk factors for antituberculosis treatment induced hepatotoxicity. Indian Journal of Medical Research, 132, 81-86.
SinoBiological. (2020). Cluster of differentiation 4/CD4. Retrieved October 3, 2020, from https://www.sinobiological.com/research/cd-antigens/cluster-of-differentiation-4.
Steele, M. A., Burk, R. F., & DesPrez, R. M. (1991). Toxic hepatitis with isoniazid and rifampin: A meta-analysis. Chest, 99(2), 465-471.
Tostmann, A., Boeree, M. J., Aarnoutse, R. E., Lange, W. C. M., Ven, A. J., & Dekhuijzen, R. (2007). Antituberculosis drug-induced hepatotoxicity: Concise up-to-date review. Journal of Gastroenterology and Hepatology, 23(2), 192-202.
Weinberg, J. L., & Kovarik, C. L. (2010). The WHO clinical staging system for HIV/AIDS. American Medical Association Journal of Ethics, 12(3), 202-206.
World Health Organization. (2019). Global tuberculosis report 2019. France: Minimum Graphics.
Yee, D., Valiquette, C., Pelletier, M., Parisien, I., Rocher, I., & Menzies, D. (2003). Incidence of serious side effects from first-line antituberculosis drugs among patients treated for active tuberculosis. American Journal of Respiratory and Critical Care Medicine, 167(11), 1472-1477.
Yimer, G., Aderaye, G., Amogne, W., Makonnen, E., Aklillu, E., Lindquist, L. et al. (2008). Anti-Tuberculosis therapy-induced hepatotoxicity among ethiopian HIV-positive and negative patients. Plos One, 3(3), 1-5.
Zeleke, A., Misiker, B., & Yesuf, T.A. (2020). Drug-induced hepatotoxicity among TB/HIV co-infected patients in a referral hospital, Ethiopia. BMC Research Notes, 13(2), 1-5.
Weinberg, J.L. & Kovarik, C.L. (2010). The WHO Clinical Staging System for HIV/AIDS. American Medical Association Journal of Ethics, 12(3), 202-206.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.