การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • สุมิตรา โพธิ์ปาน กลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก 65000
  • ปัทมา สุพรรณกุล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก 65000

คำสำคัญ:

เทคโนโลยี, การดูแลสุขภาพ, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

เทคโนโลยีในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุไทยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองนโยบายประเทศไทย 4.0 และเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เทคโนโลยีในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุไทยยุคสังคมดิจิทัล โดยเนื้อหาของบทความแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ เทคโนโลยี ในการดูแลสุขภาพ ความเข้าใจและรู้ทันเทคโนโลยีดิจิทัล รวมทั้งความท้าทายในการพัฒนาการเรียนรู้และทักษะ เทคโนโลยีของผู้สูงอายุไทย ด้านเทคโนโลยีในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุไทย แบ่งเป็น 3 แบบ คือ 1) การใช้เทคโนโลยีเพื่อจัดการกับข้อมูล สุขภาพส่วนบุคคล 2) การใช้ประโยชน์จากแอปพลิเคชั่นในการดูแลสุขภาพและ 3) การเข้าถึงการบริการสุขภาพ ผ่านระบบออนไลน์ โดยผู้สูงอายุที่สามารถเข้าถึงระบบของเทคโนโลยีในการดูแลสุขภาพเหล่านี้ได้จำเป็นต้องมีทักษะ เทคโนโลยีในการใช้เป็น เข้าใจ และสร้างสรรค์ ที่ถูกต้องและเหมาะสม จึงเป็นความท้าทายของบุคลากรทีมสุขภาพ ในการวางแผนการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และทักษะเทคโนโลยีให้เกิดกับผู้สูงอายุตามแนวคิดของการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ที่เน้นการเรียนรู้โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เริ่มต้นการเรียนรู้จากความต้องการและ ความสนใจของผู้เรียน จัดกิจกรรมที่ทำให้เกิดประสบการณ์ตรงและเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันให้มากที่สุด และ เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุสามารถเรียนรู้ด้วยการนำตนเองได้ตามศักยภาพ และขอบเขตที่ผู้สูงอายุแต่ละคนพึงมี

References

1. Schulz R, Wahl HW, Matthews JT, De Vito Dabbs A, Beach SR, Czaja SJ. Advancing the Aging and Technology Agenda in Gerontology. Gerontologist 2015;55(5):724-34.

2. Tongdee J, Boonchieng W. Healthcare Service System for the elderly and Thailand 4.0 Model. Nurs 2017;44(suppl.1):138-50.

3. Juengsathiansap K. Aging Society in Digital Era, in Annual Academic Conference of Kanchanaphisek Medical Center: Mahidol University 2016; Conference on 1st April 2016.

4. Hemmat M, Ayatollahi H, Maleki MR, Saghafi F. Future Research in HealthInformation Technology: A Review. Perspect Health Inf Manag 2017;14(Winter):1b.

5. Booncharoen T.New Trends of Health Technology. J Sci Tech 2013;5(5):25-32. [cited 2018 Mar 13] Available from:URL:https://www.tci-thaijo.org/index.php/JSTNSRU/article/view/42076/34761

6. ธนชาติ นุ่มนนท์. Digital Skill ที่คนไทยควรมีถ้าจะต้องก้าวไปสู่ Thailand 4.0. [cited 2018 Mar 13] Available from:URL:https://thanachart.org/2016/11/06/digital-skill-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0% B8% 84%E0% B8%99 %E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3% E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%96%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B8 %95%E0%B9%89/

7. Techathaweewan W. Information Literacy for Project Composition. Bangkok: Department of Library and Information Science, Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University;2016.

8. National Science and Technology Development Agency. การรู้ดิจิทัล (Digital literacy). [cited 2018 Mar 13] Available from: URL: https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/2632-digital-literacy

9. Eshet-Alkalai Y. Thinking in the Digital Era:A Revised Model for Digital Literacy. Issues Inf Sci Informat Tech 2012;9:267-76.

10. Paul R, Elder L. Critical thinking competency standards. Foundation for Critical Thinking Dillon Beach, CA. 2006.

11. Saranto K, Hovenga EJ. Information literacywhat it is about?: Literature review of the concept and the context. Int J Med Inform 2004;73 (6):503-13.

12. Eshet Y. Digital literacy: A conceptual framework for survival skills in the digital era. J Educ Multimedia Hypermedia 2004;13(1):93-106.

13. Ludwig CJ, Gilchrist ID. Stimulus-driven and goal-driven control over visual selection. J Exp Psychol Hum Percept Perform 2002;28(4):902-12.

14. Boyd DM, Ellison NB. Social network sites: Definition, history, and scholarship. J Comput Mediat Commun 2007;13(1):210-30.

15. Ardichvili A, Page V, Wentling T. Motivation and barriers to participation in virtual knowledge-sharing communities of practice. J Knowledge Manag 2003;7(1):64-77.

16. Amichai-Hamburger Y, Hayat Z. The impact of the Internet on the social lives of users:A representative sample from 13 countries. Comput Human Behav 2011;27(1):585-589.

17. Sakcharoen P. Adult Learning Theory (Andragogy) and Self-Directed Learning Concepts: Learning Process for Promotion of Life Long Learning. J Royal Thai Army Nurs 2015;16(1):8-13.

18. Satjasophon R. Learning Innovation Development for Supporting Competencies among Successors of Senior Citizen Club Leaders in Thailand. J Educ Stud 2017;45(1):194-210.

19. Buathong S, Sapapat S, Jitjarat S. Ageing Related to Reason Method and Needs of Learning. J Educ Silpakorn Univ 2015;12(1-2):6-17.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-04-30