การประเมินแบบมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์: ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

Main Article Content

สุปราณี หมื่นยา

บทคัดย่อ

          การประเมินแบบมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์ (Utilization-Focused Evaluation) เป็นรูปแบบการประเมินในยุคใหม่ที่ได้รับความสนใจมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีลักษณะสอดคล้องกับกระแสความต้องการผสานวิธีและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งช่วยสนับสนุนการเรียนรู้และความเชื่อมั่นในตนเองให้กับผู้ร่วมกระบวนการ ซึ่งแนวทางการประเมินนี้อาศัยการใช้ประโยชน์ของข้อค้นพบที่เกิดขึ้น และการมีส่วนร่วมทั้งในส่วนของนักประเมิน ผู้ถูกประเมิน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และผู้ใช้ประโยชน์จากผลการประเมิน เพื่อนำสู่ผลการประเมินที่มีคุณภาพและนำสู่การใช้ประโยชน์ผลการประเมินในการพัฒนาโครงการให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งในบทความนี้นำเสนอแนวคิดการประเมินแบบมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์ 12 ขั้นตอนของการประเมินแบบมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์ และแนวทางการใช้การประเมินแบบมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์และการนำไปใช้ รวมทั้งข้อควรปฏิบัติในการประเมินแบบมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Academic article)

References

1. Buosonte, R. (2007). Directions and areas of Evaluation. (2nd ed). Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai)

2. Kanjanawasee, S. (2011). Evaluation Theory. (8th ed). Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.(in Thai)
Stufflebeam, D. L. & Shinkfield, A. J. (2007). Evaluation theory, models, and applications. USA.:Jossey–Bass A wiley imprint.

3. Patton, M. Q. (2008). Utilization-focused evaluation. (4th ed). London: Sage Publication, Inc.

4. Patton, M. Q. (2012). Essentials of utilization-focused evaluation. London: Sage Publication, Inc