การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการดูแลภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการ ที่โรงพยาบาลชัยนาทนเรนทร
คำสำคัญ:
การพัฒนา, รูปแบบการส่งเสริมการดูแล, ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์บทคัดย่อ
บทนำและวิธีการศึกษา: การวิจัยเพื่อพัฒนาและประเมินประสิทธิผลของรูปแบบที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างคือหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง จำนวน 30 คน และพยาบาลผู้ให้บริการ 3 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แผนการสอน แบบสอบถามความรู้ ความพึงพอใจของหญิงตั้งครรภ์และพยาบาล ค่าเชื่อมั่นของเครื่องมือ เท่ากับ .80, .86, .78 และ .75 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ paired t-test
ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์คือ การเลือกรับประทานอาหารและยาที่มีธาตุเหล็ก และการป้องกันภาวะโลหิตจางจากสาเหตุอื่น (2) รูปแบบการส่งเสริมการดูแลภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลชัยนาทนเรนทรโดยใช้กรอบทฤษฎีการพยาบาลของคิง ประกอบด้วยการร่วมกันกำหนดพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะโลหิตจางตามปัจจัย และการติดตามเป็นระยะ (3) ประสิทธิผลของรูปแบบ พบว่าฮีมาโตคริตของหญิงตั้งครรภ์ มีระดับดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 11.348, p <.05) ความรู้ของหญิงตั้งครรภ์หลังดูแลตนเอง สูงกว่าก่อนรับรูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 11.119, p <.05) ความพึงพอใจของพยาบาล ผู้ให้บริการและหญิงตั้งครรภ์อยู่ในระดับสูง (M= 4.80, S.D. =0.41 และ M= 4.89, S.D.=0.31ตามลำดับ)
สรุป: รูปแบบการส่งเสริมการดูแลภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์มีประสิทธิผลที่ดี สามารถนำไปขยายผลหน่วยงานอื่นได้
References
Reveiz, L, Gyte, G. M. L., Cuervo, L. G., & Casasbuenas, A. Treatments for iron-deficiency anemia in pregnancy (Review). The Cochrane Collaboration. Published by John Wiley & Sons.Retrieved from http://www.azdhs.gov/ als/midwife/ documents/reports/resources/ reveiz-et-al. pdf,2012.
Kalaivani, K. Prevalence & consequences of anaemia in pregnancy (Review article). Indian Journal of Medical Research, 2009, 130, 627-633.
Noronha, J. A., Khasawneh, E. Al., Seshan, V., Ramasubramaniam, S., & Raman, S. Anemia in pregnancy-consequences and challenges: A review of literature. Journal of South Asian Federation of Obstetrics and Gynaecology, 2012, 4(1), 64-70.
Goonewardene, M., Shehata, M. & Hamad, A. Anaemia in pregnancy. Best Practice & Research Clinical Obstetrics and Gynaecology, 2012, 26, 3-24.
Pena-Rosas, J. P., De-Regil, L. M., Dowswell T., & Viteri, F. Intermittent oral iron supplementation during pregnancy (Review). The Cochrane Collaboration. Published by John Wiley & Sons. Retrieved from www.thecochranelibrary.com/ details/ file/ 2199641/CD009997.html, 2012.
Saykaew, N., & Sopajaree, C. The effect of nursing care based on goal attainment theory on iron deficiency anemia. Preventive behaviors in pregnant women. Journal of Nursing Science Chulalongkorn University, 2007, 19(2), 17-29. [In Thai]
Tashara, I. F., Achen, R. K., Quadras, R., D’Souza, M. V., D’Souza, P. J. J., & Sankaret, A. Knowledge and self-reported practices on prevention of iron deficiency anemia among women of reproductive age in rural area. International Journal of Advance in Scientific Research, 2015, 1(7), 289-292.
De Benoist, B., Mclean, E., Egli, I., & Cogswell, M. Worldwide prevalence of anemia 1993 2005: WHO Global Database on Anemia.Geneva, Swizerland: WHO Press. Retrieved January 10, 2011 from http://whqlibdoc.who.int/publications /2008/9789241596657 eng .pdf 76.
กรมอนามัย.ระบบสารสนเทศสนับสนุนด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, DoH Dashboard กรมอนามัย,2564. (ข้อมูลจาก Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข).
กรมอนามัย. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพ 4กลุ่มวัย: โครงการป้องกันและควบคุมภาวะโลหิตจาง 2564. พิษณุโลก: ศูนย์อนามัยที่2 กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานและวัยสูงอายุ,2564,หน้า1.
Phaksorn, A. The effectiveness of health education program for promoting self-care behaviors of pregnant women having iron deficiency anemia, Prachuapkirikhan hospital. Master of Science Thesis, Health Education, Faculty of Science, Kasetsart University.2010. [In Thai].
Promtongboon, S.The effect of mutual goal-setting oriented program on self-care behaviors and hematocrit among pregnant women with iron deficiency anemia. Hatyai Journal, 2012, 10(1), 53-64. [In Thai].
นริสา วงศ์พนารักษ์. ทฤษฎีการพยาบาลของคิง: แนวคิดและการประยุกต์ใช้ในการพยาบาล. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,2556; 31(4): 16-25.
Ferguson, G., A,. (1981). Statistical Analysis in Psychology and Education. Tokyam: McGraw – Hill Book Company, 1981:180.
Cronbach, L. J. Essentials of Psychological Testing. New York: Harper and Row, 1984:169.
Saykaew, N., & Sopajaree, C. (2007). The effect of nursing care based on goal attainment theory on iron deficiency anemia. Preventive behaviors in pregnant women. Journal of Nursing Science Chulalongkorn University, 2007; 19(2):17-29. [In Thai].
King, I. M. Evidence-based nursing practice.: Theories. Journal of Nursing Theory,2000; 9(2):4-9.
นงเยาว์ สายแก้ว.ผลของการพยาบาลใช้ทฤษฎีความสำเร็จตามเป้าหมาย ต่อพฤติกรรมการป้องกันภาวะโลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2549; Retrieved March 10, 2022 from https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/CU.the.2006.710
Pipatkul, W., Sinsuksai, N., & Phahuwatanakorn, W. Effects of a nutrition and iron supplement promoting program on iron deficiency anemia in pregnant women. Journal of Nursing Science, 2015; 33(1):69-76. [In Thai].
วีรวรรณ บุญวงศ์ , ปฏิญญา ระเบียบเลิศ และนิธิกานต์ สุภา.การพัฒนาระบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ในเขตพื้นที่บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช: ศูนย์อนามัยที่ 11;2560. Retrieved March 10, 2022 from วิจัยคนท้องซีด นครศรีธรรมราช.pdf.
เนตรนารี ศิริโสภา. ผลของการบริบาลทางเภสัชกรรมในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก คลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลก่งคอย สระบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาเภสัชศาสตร์มหาบัณฑิต, นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร; 2557.
King IM. A Theory for Nursing: System, Concepts, Process. New York: Wiley Centuary-Crofts; 1981.
King IM. The Theory of Goal Attainment in Research and Practice. Nursing Science Quarterly 1996; 9(2) (Summer): 61-66.
Ngoenying S., Suppasi P. & Suppasrimanont W. Effects of a health promotion program on nutrition health behavior and stress management in pregnant adolescents. The Journal of Faculty of Nursing, Burapha University. 2013; 21(4), 38-48. [In Thai].
Jehnok, M. The effect of supportive educative program for reduction of anemia on self-care behavior of Muslim pregnant women. Master of Nursing Science Thesis, Advanced Midwifery, Graduate School, Faculty of Nursing, Prince of Songkla University,2012. [In Thai].
Howyida, S., Aziza, I., & Lamiaa, T. (2012). Effect of nutritional educational guideline among pregnant women with iron deficiency anemia at rural areas in Kalyobia governorate. Life Science Journal,2012; 9(2):1212-1217.
Pipatkul, W., Sinsuksai, N., & Phahuwatanakorn, W. (2015). Effects of a nutrition and iron supplement promoting program on iron deficiency anemia in pregnant women. Journal of Nursing Science,2015; 33(1):69-76. [In Thai].
Kunkitti, S.The effects of a nutrition promoting program on hematocrit levels among adolescent pregnant women with anemia. Master of Nursing Thesis, Educative Department of Nursing Administration, Faculty of Nursing, Thammasat University, 2009. [In Thai].
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 โรงพยาบาลสิงห์บุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลสิงห์บุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลสิงห์บุรี และบุคคลากรท่านอื่นๆในโรงพยาบาลฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว