ประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนการพยาบาลห้องผ่าตัดแบบโค้ชต่อความรู้และ การปฏิบัติตัวป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ห้องผ่าตัด โรงพยาบาลชลบุรี

ผู้แต่ง

  • ขวัญจิตร ศักดิ์ศรีวัฒนา กลุ่มการพยาบาลผู้ป่วยห้องผ่าตัด โรงพยาบาลชลบุรี
  • วิไลภรณ์ พุทธรักษา กลุ่มการพยาบาลผู้ป่วยห้องผ่าตัด โรงพยาบาลชลบุรี

คำสำคัญ:

รูปแบบการเรียนการสอน, พยาบาลห้องผ่าตัด, การโค้ช, ความรู้, การปฏิบัติตัว

บทคัดย่อ

บทนำ: การเรียนการสอนการพยาบาลห้องผ่าตัดแบบโค้ช เป็นสิ่งสำคัญในการปฏิบัติงาน

วิธีการศึกษา: ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนการพยาบาลห้องผ่าตัดแบบโค้ช กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือพยาบาลวิชาชีพห้องผ่าตัด ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ คัดเลือกด้วยวิธีสุ่มอย่างง่าย จำนวน 40 คน และผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด 120 คน เครื่องมือที่ใช้ แผนการเรียนการสอนการพยาบาลห้องผ่าตัดแบบโค้ช แบบสอบถามความรู้ แบบสอบถามการปฏิบัติเพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แบบสอบถาม  ความพึงพอใจของพยาบาลห้องผ่าตัด และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วย ซึ่งได้มีค่าเชื่อมั่นของเครื่องมือ KR 20 และสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ .70, .86, .72 และ .75 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Dependent t-test                                                                           

ผลการศึกษา: พบว่า พยาบาลห้องผ่าตัดมีความรู้และการปฏิบัติตัวโดยรวมสูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการเรียนการสอนการพยาบาลห้องผ่าตัดแบบโค้ชฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = -31.955, p <.001) และ (t = -25.658, p <.001) ตามลำดับ ความพึงพอใจของพยาบาลอยู่ในระดับสูง ( = 4.535, S.D. =.204) ความพึงพอใจของผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนาที่เข้ารับบริการผ่าตัดอยู่ในระดับมาก (= 8, S.D.=0.95)

สรุป: รูปแบบการเรียนการสอนด้วยวิธีโค้ชทำให้พยาบาลห้องผ่าตัดมีความรู้และการปฏิบัติตัวป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนาเพิ่มขึ้นสามารถนำไปขยายผลหน่วยงานหรือโรงพยาบาลอื่น ๆ ได้

References

Kaye AD, Okeagu CN, Pham AD, Silva RA, HurleyJJ, Arron BL, Cornett EM. Economic impact of COVID-19 pandemic on healthcare facilities and systems: International perspectives. Best Practice & Research Clinical Anaesthesiology 2021; 35 : 293-306.

Pietromonaco PR, Overall NC. Applying relationship science to evaluate how the COVID-19 pandemic may impact couples’ relationships. American Psychologist 2021; 76 : 438.

Al-Ghunaim TA, Johnson J, Biyani CS, O’Connor D. Psychological and occupational impact of the COVID-19 pandemic on UK surgeons: a qualitative investigation. BMJ open2021; 11, e045699.

Singhal R, Dickerson L, Sakran N, Pouwels S, Chiappetta S, Weiner S, Mahawar K. Safe Surgery During the COVID-19 Pandemic. Current obesity reports 2021; 1-12. [cited 2020, May 20] Available from https://link.springer.com/content/pdf/10.1007/s13679-021-00458-6.pdf

กรมควบคุมโรค. รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. ฉบับที่ 258 วันที่ 17 กันยายน 2563.

แผนกห้องผ่าตัดโรงพยาบาลชลบุรี. รายงานการผ่าตัดประจำปี.โรงพยาบาลชลบุรี: 2563

Whitmor J. Coaching for Performance. The GROW Model 2012 [cited 2017, September 13] Available from http://www.performanceconsultants.com/wp-content/uplads/GROWModel-Guide.pdf

Watts, M., & Corrie, S. (2013). Growing the 'I' and the 'we' in transformational leadership: The LEAD, LEARN & GROW model. The Coaching Psychologist 2013; 9: 86–99.

Grant, A. M. (2011). Is it time to REGROW the GROW model? Issues related to teaching coaching session structures. The Coaching Psychologist 2011; 7: 118-126.

Dembkowski S, Eldridge F. Beyond GROW: A new coaching model. The international journal of mentoring and coaching 2003; 1, 21.

จุฬารัตน์ ห้าวหาญ และอรชร อินทองปาน. (2558).การวิจัยและพัฒนารูปแบบการโค้ชเพื่อพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการบริการสุขภาพ, วารสารพยาบาลกระทธารณสุข. 2558; 25: 166-177.

วัชรินทร์ ชัยมานะการ สมบุญ ชัยมานะการ ประกริต รัชวัตร์ และสุรีย์ จินเรือง และคณะ. การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถห้องผ่าตัดในการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดน้ำวุ้นตาและจอประสาทตาด้วยการเรียนรู้แบบโค้ช โรงพยาบาลสระบุรี. วารสารกองการพยาบาล. 2559; 44: 92-116.

อรอนงค์ ธาราไพศาลสุข. (2561). ผลของการนิเทศตามโมเดลการโค้ชแบบโกรว์ของผู้บริหารทางการพยาบาลระดับต้น ที่โรงพยาบาลเอกชน. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยคริสเตียน. 2561.

ธัญวดี จิรสินธิปก, เพียงใจ เจิมวิวัฒน์กุล,สุวิภา นิตยางกูร, สมจิตต์ วงศ์สุวรรณสิริ, สารา วงษ์เจริญ. มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล ครั้งที่ 2. นนทบุรี: สำนักการพยาบาล กรมการแพทย์; 2551.

CDC. Infection control: Guidelines for Environmental Infection Control in Health-Care Facilities 2003 [cited 2020, January 13] Available from https://www.cdc.gov /infectioncontrol /pdf/guidelines/environmental-guidelines-P.pdf

AORN. Perioperative Care of the COVID-19 Patient 2020 [cited 2020, july 13] Available from http:// https://www.aorn.org/ education/facility-solutions/covid19-playbook

บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยคุณสมบัติการวัดเชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์; 2553.

Bloom BM. Learning for mastery. evaluation comment.Center for the study of intruction program University of California at Los Angina 1968; 1: 975-802.

สมจิตต์ แสงศรี. การพัฒนาและประเมินผลแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้ วางแผนในหออภิบาลผู้ป่วยศัลยกรรม โรงพยาบาลสงขลานครินทร์. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาตรมหาบัณฑิต]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2555.

อิฏฐาพร คำกุ้ม นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ. ผลของการโค้ชต่อความรู้และการปฏิบัติของพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะในผู้สูงอายุในสถานดูแลระยะยาว. พยาบาลสาร 2560; 44: 1-10.

Vázquez-Calatayud, Regaira-Martínez, Rumeu-Casares, Paloma-Mora, Ainhoa Esain, Cristina Oroviogoicoechea. Experiences of frontline nurse managers during the COVID-19:A qualitative study. Journal of Nursing Management. 2021; 30:79-89.

ยุพิน เรืองพิสิฐ. การพัฒนาระบบการสอนงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลเฉพาะทางแห่งหนึ่งสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. วารสารเกื้อการุณย์. 2558; 22: 122-139.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-08-2022