การพยาบาลผู้ป่วยเอดส์ที่มีโรคร่วมวัณโรคปอด: กรณีศึกษา

ผู้แต่ง

  • ขนิษฐา สุขทอง โรงพยาบาลบางระจัน

คำสำคัญ:

การพยาบาล, ผู้ป่วยเอดส์, วัณโรคปอด

บทคัดย่อ

วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อฉวยโอกาสที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยเอดส์ และเป็นสาเหตที่นำไปสู่การเสียชีวิต  การพยาบาลผู้ป่วยเอดส์ที่มีโรคร่วมวัณโรค จึงจำเป็นต้องวางแผนการพยาบาลอย่างองค์รวม ครอบคลุมมิติ กาย จิตใจ  สังคม และจิตวิญญาณของผู้ป่วย  กรณีศึกษานี้ได้นำแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน มาประยุกต์ใช้ในการประเมินภาวะสุขภาพของผู้ป่วย ซึ่งประกอบด้วย 11 แบบแผน นำไปสู่การตั้งข้อวินิจฉัย วางแผน และให้การพยาบาลที่สอดคล้องกับปัญหาในวันที่ให้การพยาบาล  กรณีศึกษาพบว่าการให้การพยาบาลผู้ป่วยเอดส์ที่มีโรคร่วมวัณโรคปอด  โดยใช้กระบวนการพยาบาลเป็นขั้นตอน ช่วยลดปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยได้ 

ข้อเสนอแนะจากกรณีศึกษาครั้งนี้  ควรติดตามประเมินผลปรับปรุงให้แหมาะสมเป็นวงจรต่อเนื่อง ทีมสุขภาพควรได้ดูแลผู้ป่วยแบบสหสาขาวิชาชีพ โดยมีการเตรียมความพร้อมให้ครอบคลุมทุกมิติเป็นแบบองค์รวม การติดตามผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

References

รายการอ้างอิง
1. Sinoussi FB, Chermann JC, Rey F, Nugeyre MT, Chamaret S, Gruest J, et al. Isolation of
T-lymphotropic retrovirus from a patient at risk for acquired immune deficiency syndrome
(AIDS). National Library of Medicine, 1983(cited 2020 Dec 15);220:868-71. Available from:
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/6189183/
2. Boonet MM, Pinoges LL, Varaine FF, Oberhauser BB, Brien DD, Kebede YY, et al.
Tuberculosis after HAART initiation in HIV-positive patients from five countries with a high
tuberculosis burden. National Library of Medicine, 2006(cited 2020 Dec 1);1275-9 Available
from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16816556/
3. มนูญ ลีเชวงวงศ์. Challenges in Management of Tuberculosis in HIV-AIDS.2560 (เข้าถึงเมื่อ 23 มิถุนายน
2563). เข้าถึงจาก http://www.thaiaidssociety.org/data/PDFs/article/Challenge in management of tuberculosis
in HIV/AIDS pdf
4. สำนักวัณโรค. TB HIV แนวปฏิบัติการผสมผสานวัณโรคและเอดส์.พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพมหานคร: เจ. เอส.การพิมพ์ J.S.Printing; 2560.
5. กองวัณโรค. คู่มือประเมินคุณภาพ โรงพยาบาล ด้านการดูแลรักษาวัณโรค. พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพ: สำนักพิมอักษรกราฟฟิกแอนด์ดีไซน์; 2563.
6. เสถียร เชื้อลี. สาเหตุการเสียชีวิตผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เขต 10. วารสารสำนักงานป้องกัน
ควบคุมโรคที่ 10 2561;16:16-19.
7. เฉวตสรร นามวาท, สุธาสินี คำหลวง, นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร, ยงเจือ เหล่าศิริถาวร, ศศิธันว์
มาแอเคียน, วิธัญญา ปิณฑะดิษ และคณะ. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ความคุ้มค่า
การลงทุนเพื่อยุติปัญหาวัณโรคในประเทศไทย: การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้. 2560.1-5.
8.Wanyiri JW, Kanyi H, Maina S, Wang DE, Ngugi P, Connor RO, Kamau T, et al. Infecious
diarrhoea in antiretroviral therapy-naïve HIV/AIDS patients in Kenya. Transactions of the
Royol Society of Tropical Medicine & Hygiene 2013;107: 631-638.
9. Sandoval R, Roddey T, Giordana TP, Mitchell K, Kelley C.Sage journal Pain, sleep
disubances, and functional limitations in people living with HIV/ AIDS-associated distal
sensory peripheral neuropathy. Journal of internationnal Association of Providers of AIDS
Care 2013; 13:328-334.
10. กรมควบคุมโรค. ตีตรา-เลือกปฏิบัติ.2558 (เข้าถึงเมื่อ 16 มกราคม 2564). เข้าถึงได้จาก
hfocus/content/2015/08/10730
11. Kremer H, Iroson G. Everything changed:spiritual transformation in people with HIV. The
international journal of Psychiatry in Medicine2009;39:243-262.
12. Gordon, Marjory. Manual of Nursing Diagnosis.London: Jones and Bartlett Publishers,
Internet.2007(cited2020 Nov 14):Avaiable from
https://www.jblearning.com/catalog/productdetails/9781284044430#productInfo
13. Ackley J. Betty and Ladwig B. Gail.(2006). Nursing diagnosis Handbook: A Guide to
Planning Care. (7th ed). Saint Louis Missouri: MOSBY ELSEVIER.
14. พรศิริ พันธสี. กระบวนการพยาบาล& แบบแผนสุขภาพ: การประยุกต์ใช้ทางคลินิก. พิมพ์ครั้งที่
18. ห้างหุ้นส่วนจำกัด พิมพ์อักษร; 2559.
15. สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์. ชุดความรู้การดูแลรักษาสำหรับผู้ติด
เชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้โรคโดยตรง (ม.ป.ป.)2554.
16. Iroezindu MO, Ofondu EO, Hausler H, Wyx V. Prevalence and Risk factor for Opputunistic
Infection in HIV Patients Receiving Antiretroviral Therapy in Resourece-Limited Setting in
Nigeria. AIDS & Clinical Research2013;1-9.
17. ลัดดา พลพุทธา. การพยาบาลผู้ติดเชื้อเอชไอวี: กรณีศึกษา. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร.
2561;10:236-250.
18. Whitz R. Uncertainty and lives of person with AIDS. Journal of Heath and Social
Behaior1989;30:270-280.
19. รัฐการต์ ปาระมี. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาล
แม่สาย. เชียงรายวารสาร. 2563:12;31-43.
20. Gonzalez A, Zvolensky MJ, Solomon SE, Miller CT. Exporation of the relevance of anxiety
sensitivity among adults living with HIV/AIDS for understanding anxiety vulnerability.
Journal of Health Psychology2510;15:138-146.
21. Krener H, and Ironson G. Everything changed: Spiritual transformation in people
with HIV. The international Journal of Psychiaty in medicine 2009;39:243-262.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-12-2021