Factors Predicting Sweet, Fatty, and Salty Food Consumption Behaviors among Elderly People in Chakkarat District, Nakhon Ratchasima Province
Main Article Content
Abstract
This study aimed to assess the levels of knowledge, attitudes, and behaviors regarding the consumption of sweet, fatty, and salty foods, as well as the factors that can predict the consumptions behaviors of sweet, fatty, and salty foods among elderly people in Chakkarat District, Nakhon Ratchasima Province. A cross-sectional descriptive research design was conducted. The sample consisted of elderly individuals residing in the service area of Khok Phra Health Promotion Hospital, Nong Phluang Subdistrict, Chakkarat District, Nakhon Ratchasima Province, with a total of 223 participants. A systematic sampling method was used, based on the proportion of households, from 5 villages. Data were collected from February to March 2024 using a structured questionnaire. The data were analyzed using descriptive statistics and Stepwise Multiple Linear Regression Analysis.
The study found that the majority of the sample group had a high level of knowledge on consuming sweet, fatty, and salty foods (76.2%), had a good attitude towards consuming sweet, fatty, and salty foods (87.0%), and had a moderate level of consuming sweet, fatty, and salty foods (67.7%). Considering the eating behavior according to the risk, it was found that the sample group had a high risk in terms of consuming sweet foods (87.0%), a high risk in terms of consuming fatty foods (79.4%), and a high risk in terms of consuming salty foods (78.5%), respectively. The factors that could predict the behavior of consuming sweet, fatty, and salty foods with statistical significance at the 0.05 level were income (β = -.1.27), underlying diseases (β = 0.46), and attitudes towards consuming sweet, fatty, and salty foods (β = 0.15). They could predict the behavior of consuming sweet, fatty, and salty foods of the elderly in Chakkarat District, Nakhon Ratchasima Province by 19.1%. The equation for predicting the behavior of consuming sweet, fatty, and salty foods of the elderly was Y = 26.87 + (-1.27) income + (0.46) underlying diseases + (0.15) Attitudes towards consuming sweet, fatty, and salty foods.
Therefore, there should be a plan and design of activities that help strengthen attitudes towards consuming sweet, fatty, and salty foods, taking into account underlying diseases and income, in order to lead to correct practices, resulting in appropriate changes in food consumption behavior, in order to prevent the occurrence of non-communicable chronic diseases and reduce the occurrence of complications in people with underlying diseases.
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กองสุขศึกษา [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข; 2557 [เข้าถึงเมื่อ 10 มี.ค.2567]. เข้าถึงได้จาก: http://www.hed.go.th/linkHed/403
จิราพร ฉันทโรจน์ และวรินทรา รัตนพานิช. การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้ใหญ่ในประเทศไทย. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ [อินเทอร์เน็ต].2565 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2567];58(1): 21-35. เข้าถึงได้จาก: https://www.tpha.or.th/journal
ณฐกร นิลเนตร สุขศิริ ประสมสุข และพ็ญวิภา นิลเนตร. การศึกษาความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารหวานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้สูงอายุโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในเขตพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 [อินเทอร์เน็ต]. ม.ค.-เม.ย.2567 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2567];18(1): 1-12. เข้าถึงได้จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RHPC9Journal/article/download/264061/181068/1060818
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.[อินเทอร์เน็ต].กรุงเทพ:รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2565;2565 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2567].เข้าถึงได้จาก: https://www.thaihealth.or.th
สำนักงานสถิติแห่งชาติ [อินเทอร์เน็ต]. รายงานสถิติสุขภาพประชากรไทย ปี 2565;2565 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nso.go.th
กระทรวงสาธารณสุข [อินเทอร์เน็ต]. ระบบคลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center (HDC) ; 2566 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้ จาก: https://hdcservice.moph.go.th/hdc/main/index.php
ศูนย์วิจัยโรคหัวใจและหลอดเลือด [อินเทอร์เน็ต]. รายงานการวิจัยเกี่ยวกับโรคหัวใจและหลอดเลือด;2566 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2567].เข้าถึงได้จาก: https://www.heartandvascular.or.th
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกพระ อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา [เข้าถึงเมื่อ 10 มีนาคม 2566].
อรุณ จิรวัฒน์กุล. ชีวสถิติสำหรับงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3 . ขอนแก่น: ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2552.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ [อินเทอร์เน็ต]. แบบคัดกรองพฤติกรรมการบริโภคอาหาร (หวาน มัน เค็ม) ; 2567 [เข้าถึงเมื่อ 14 ตุลาคม 2567].เข้าถึงได้ จาก: https://dol.thaihealth.or.th/Media/Index/3a123c3a-39b0-ee11-8100-00155d1aab77
Bloom, B. Mastery learning. New York: Holt, Rinehart & Winston; 1971.
Best, J. W. Research in education. New Jersey: Prentice Hall; 1977.
สุดารัตน์ ชูพันธ์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุ กรณีศึกษาหมู่ 9 บ้านผือฮี ตำบลบ้านยาง อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น [อินเทอร์เน็ต]. มค.-มีค. ปี 2565 [เข้าถึงเมื่อ 13 ตุลาคม 2567];3(1): 81-93. เข้าถึงได้ จาก: https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/1101
สุพรรณี พฤกษา. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. รายงานผลการวิจัย. ทุนสนับสนุนจากแผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ. เลย : มหาวิทยาลัยรราชภัฎเลย; 2559.
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [อินเทอร์เน็ต]. ความรู้เรื่องโภชนาการและผลกระทบจากการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็มในผู้สูงอายุ;2566 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2567].เข้าถึงได้จาก: https://www.md.chula.ac.th
นารถฤดี จันทปสาร ศิริรัตน์หาบุตร และพีระพล พลศ์อักษร. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุช่วงอายุระหว่าง 60 - 70 ปี ตำบลห้วยข่า อำเภอบุณฑริกจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิชาการเฉลิมกาญจนา [อินเทอร์เน็ต]. กค.-ธค. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 14 ตุลาคม 2567];7(2): 137-148. เข้าถึงได้ จาก: https://cnu.ac.th/journal/JournalPDF/7_2_11.pdf
Tandon, P. S., Saelens, B. E., & Christakis, D. A. Associations between positive attitudes toward food and children's food intake behaviors: A cross-sectional study. J Am Diet Assoc. 2017; 117(2): 252-258.
Wongsirichat, J., et al. Effectiveness of dietary interventions on reducing salt and sugar consumption among elderly people in Thailand. Journal of Nutrition Education and Behavior. 2020; 52(5): 453-460.
Jirawuth, K. Knowledge, Attitudes, and Practices regarding healthy eating among elderly in urban Thailand. Journal of Public Health Research. 2019; 8(4): 234-239.
กรมอนามัย [อินเทอร์เน็ต]. ผลการศึกษาการบริโภคอาหารหวานในผู้สูงอายุ;2566 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://www.anamai.moph.go.th
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล [อินเทอร์เน็ต]. การบริโภคอาหารที่มีไขมันสูงในผู้สูงอายุและผลกระทบต่อสุขภาพ;2565 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2567].เข้าถึงได้จาก: https://www.psri.mahidol.ac.th
ศูนย์วิจัยโรคหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลศิริราช [อินเทอร์เน็ต]. การบริโภคเกลือและโซเดียมเกินปริมาณที่แนะนำในผู้สูงอายุและผลกระทบต่อสุขภาพ;2566 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2567].เข้าถึงได้จาก: https://www.sirirajhospital.com
Smith, L. M., et al. The relationship between income and food choices in older adults. Journal of Gerontology: Social Sciences. 2017; 72(5): 722-730.
Hada, M., et al. Impact of income on elderly nutrition in Japan. J Aging Health. 2019; 31(4): 583-599.
Pillay, N., et al. Factors influencing food choices among elderly people in a South African population. Journal of Nutrition Education and Behavior. 2016; 48(3): 173-180.
Liamputtong, P., et al. Social factors influencing food consumption among older adults: a qualitative study in Thailand. Asia Pac J Clin Nutr. 2016; 25(4): 772-778.
จิราภรณ์ รัตนศิริ และสุชาดา ศรีวัฒนานนท์. ทัศนคติและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการแพทย์สังคม [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 17 ตุลาคม 2567];39(1): 45-56.