Role of Nurses in Food Consumption Behavior Modification to Prevent Cholangiocarcinoma บทบาทพยาบาลในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารเพื่อป้องกันโรคมะเร็งท่อน้ำดี

Main Article Content

จินตนา กิ่งแก้ว
พึงพิศ การงาม
ณกานดา ยมศรีเคน
นงลักษณ์ สุวรรณกูฏ

Abstract

Cholangiocarcinoma (CCA) are major public health problems in northeastern part of Thailand commonly found in males. It caused by consumption of undercooked food infected with liver fluke, liver fluke larvae grow in the bile ducts. In the early stages, patient mostly have no sign and symptoms. Most of them came to the doctor with eye symptom, jaundice and tightness in the stomach. The current treatment for this disease is determined according to stage of disease which the most common treatment is surgery. In patients with metastatic cancer, palliative treatment will be given according to symptoms. Cholangiocarcinoma is a chronic disease that can be prevented by having appropriate dietary habits. Therefore, nurses are considered to be very important persons in the Thai public health system in modifying food consumption behaviors of the people. Nurses can apply various concepts of behavior modification to develop a model for health promotion and prevent liver fluke and cholangiocarcinoma. In this article, the authors propose the role of nurses based on the Transtheoretical model (TTM). TTM theory introduce that behaviors is complex, nurses should have an understanding of a person’s behavior and organize nursing activities for encourage people having correct and appropriate food consumption.

Article Details

Section
Academic Article

References

อาคม ชัยวีระวัฒนะ, เสาวคนธ์ ศุกรโยธิน, อนันต์ กรลักษณ์ และ ธีรวุฒิ คูหะเปรมะ. แนวทางการตรวจคัดกรองวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งตับและท่อน้ำดี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ; 2554.

รุ่งฤดี ชัยธีรกิจ. บทที่ 9 ระบาดวิทยาและปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งท่อน้ำดี. ใน: รุ่งฤดี ชัยธีรกิจ, บรรณาธิการ. มะเร็งตับและท่อน้ำดี. กรุงเทพฯ : บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด, 2561: 177-193.

ณรงค์ ขันตีแก้ว. บทสรุป. ใน: ณรงค์ ขันตีแก้ว,บรรณาธิการ. โรคมะเร็งท่อน้ำดีในประเทศไทย.ขอนแก่น : หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2564: 247-250.

วันชัย เหล่าเสถียรกิจ, ศศิธร เจริญประเสริฐ, กันยารัตน์ เหล่าเสถียรกิจ, พุทธิไกร ประมวล และ ศักรินทร์ บุญประสงค์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการบริโภคปลาดิบ-สุกๆ ดิบๆ ของประชาชนจังหวัดศรีสะเกษ ปี 2559. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2562; 28(6): 974-985.

เพ็ญประภา แต้มงาม, สมปอง พะมุลิลา, นฤมล สาระคำ และ ศิรินยา อินแพง. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งท่อน้ำดี ของประชาชนในตำบลแห่งหนึ่ง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2562; 21(3): 74-85.

ศรัญญา ประทัยเทพ และ ปริญญา ชํานาญ. มะเร็งท่อน้ำดี. สรรพสิทธิเวชสาร. 2554; 32(1-3): 53-62.

ประวัฒน์ โฆสิตะมงคล. สถานวิทยามะเร็งศิริราช ภาควิชาศัลยศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. เข้าถึงได้จากhttps://www.si.mahidol.ac.th/th/department/cancer/knowledgedetail.php?sub=cholangiole. สืบค้นเมื่อ 27 พ.ย. 2564.

ณรงค์ ขันตีแก้ว. บทที่ 5 มะเร็งท่อน้ำดีในตับ. ใน: ณรงค์ ขันตีแก้ว, บรรณาธิการ. โรคมะเร็งท่อน้ำดีในประเทศไทย.ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2564; 133-177.

รุ่งฤดี ชัยธีรกิจ. บทที่ 11 การวินิจฉัยและการคัดกรองมะเร็งท่อน้ำดี ใน: รุ่งฤดี ชัยธีรกิจ,บรรณาธิการ. มะเร็งตับและท่อน้ำดี. กรุงเทพฯ : บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด, 2561; 209-225.

รุ่งฤดี ชัยธีรกิจ. บทที่ 13 การรักษามะเร็งท่อน้ำดีด้วยการผ่าตัด. ใน: รุ่งฤดี ชัยธีรกิจ, บรรณาธิการ. มะเร็งตับและท่อน้ำดี. กรุงเทพฯ : บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด, 2561: 241-251.

สมปอง พะมุลิลา, บำเพ็ญจิต แสงชาติและวรรษมน ปาพรม. ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วย โรคมะเร็งท่อน้ำดีและครอบครัว. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2562; 21(1): 146-154.

จักรพันธ์ เพชรภูมิ. พฤติกรรมสุขภาพ แนวคิด ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: รัตนสุวรรณการพิมพ์; 2562; 102-130.

Prochaska JO & DiClemente. The transtheoretical approach: crossing traditional boundaries of therapy. Homewood, IL: Dow Jones-Irwin; 1984.

Prochaska JO and Velicer WF. The transtheoretical model of health behavior change. Am J Health Promot. 1997; 12(1): 38-48.

ผาณิต หลีเจริญ. การนำรูปแบบ TTM ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันการเกิด ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย โรคเรื้อรัง.วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2014; 23(3):1-11.

กุลธิดา พานิชกุล และ อติพร สําราญบัว. การประยุกต์ใช้โมเดลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transtheoretical Model) เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกาย. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครราชสีมา. 2556; 19(1): 66-76.

ศุภกนก หันทยุง. ผลของการใช้โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อการส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ชุมชนบ้านเหล่าอ้อยหมู่ที่ 5 ตำบลหนองสังข์ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร. 2558; 10 (1): 40-53.