ประสิทธิผลของการใช้ดัชนีความรุนแรงฉุกเฉินสำหรับการคัดแยกผู้ป่วย โรงพยาบาลหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่

ผู้แต่ง

  • กรรณิการ์ ชัยนันท์ โรงพยาบาลหนองม่วงไข่
  • นิพิฐพนธ์ แสงด้วง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่

คำสำคัญ:

ระบบการคัดแยกผู้ป่วย ดัชนีความรุนแรงฉุกเฉินสำหรับการคัดแยกผู้ป่วย

บทคัดย่อ

รับรองคุณภาพโรงพยาบาล เป็นกรอบแนวคิดในการพัฒนา กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย                   พยาบาลวิชาชีพ และเจ้าหน้าที่เวชกิจฉุกเฉิน จำนวน 18 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดย 1) การศึกษาจากเวชระเบียนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 2) แบบบันทึกการนำส่งผู้ป่วยจำแนกตามความรุนแรง และ3) แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจ ซึ่งมีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับจุดประสงค์อยู่ระหว่าง 0.6–1.0 ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา

ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) ได้ระบบการคัดแยก/ คัดกรองผู้ป่วยงานบริการอุบัติเหตุและฉุกเฉิน                    2) ผลลัพธ์ด้านพยาบาล พบว่า มีความพึงพอใจในภาพรวมต่อเครื่องมือจำแนกประเภทผู้ป่วยอยู่ในระดับมากที่สุด = 4.38 SD = 0.76 3) ผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย พบว่า มีความถูกต้องของการคัดแยกผู้ป่วย ร้อยละ 94.31 

References

1. กงทอง ไพศาล. การพัฒนาเครื่องมือจำแนกประเภทผู้ป่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น [รายงานการศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการพยาบาล]. คณะพยาบาลศาสตร์: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2553.
2. กงทอง ไพศาล และบุศรา กาญจนบัตร. การพัฒนาเครื่องมือจำแนกประเภทผู้ป่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 2554; 34(3):57-64.
3. ไชยพร ยุกเซ็น. Research on ESI Triage. เอกสารประกอบการอบรมเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการคัดแยกระดับความฉุกเฉิน. ลำปาง: สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ; 2555.
4. ธานินทร์ โลเกศกระวี. Emergency Department Triage. เอกสารประกอบการอบรม เกณฑ์และวิธีปฏิบัติการคัดแยกระดับความฉุกเฉิน. ลำปาง: สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ; 2555.
5. นคร ทิพย์สุนทรศักดิ์. Initial Assessment and Management. การดูแลผู้บาดเจ็บและเจ็บป่วยฉุกเฉินขั้นสูง. ขอนแก่น: กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉินและนิติเวชวิทยา โรงพยาบาลขอนแก่น; 2553.
6. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย คุณสมบัติการวัดเชิงจิตวิทยา.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2555.
7. ปาณรกุล บุญประเสริฐ. ER Triage. ใน: ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา, รพีพร โรจน์แสงเรือง. ทำอย่างไรให้แผนกฉุกเฉินดีขึ้น. กรุงเทพฯ: เอ็น พี ลิมิเต็ด พาร์ทเนอร์ชิฟ; 2550.
8. ประจักษวิช เล็บนาค. รายงานประจำปี 2554; นนทบุรี: สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ; 2555.
9. พักตร์พิมล หาญรินทร์. การพัฒนาการดำเนินงานประกันคุณภาพการพยาบาลระดับหน่วยงาน กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลศรีสงคราม จังหวัดนครพนม [รายงานการศึกษาอิสระพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. คณะพยาบาลศาสตร์: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2551.
10. ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา. การคัดแยก. ใน: ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา, รพีพร โรจน์แสงเรือง.ทำอย่างไรให้แผนกฉุกเฉินดีขึ้น. กรุงเทพฯ: เอ็น พี ลิมิเต็ด พาร์ทเนอร์ชิฟ; 2550.
11. วรรณพรธ์ ปัญโญนันท์. การพัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาลในงานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน [การค้นคว้าแบบอิสระพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล]. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2555.
12. ศศิวิมล พงษ์นิลละอาภรณ์. การพัฒนาและการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสาหรับการจำแนกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลพะเยา [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่]. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2552.
13. สุภารัตน์ ทัพโพธิ์. การพัฒนาการใช้มาตรฐานการพยาบาลการคัดกรองผู้ป่วย อุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด [รายงานการศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล]. คณะพยาบาลศาสตร์: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2553.
14. สุมาลี จักรไพศาล, ชฎาภรณ์ เปรมปรามอมร, และณัฐนันท์ มาลา. ผลของการคัดกรองผู้ป่วยโดยใช้ดัชนีความรุนแรงฉุกเฉินสระบุรีต่อความสอดคล้องของการจำแนกระดับความรุนแรงของผู้ป่วย ระยะเวลาการรอคอยแพทย์ตรวจ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการและความพึงพอใจในงานของพยาบาล หน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสระบุรี; 2553 [เข้าถึงเมื่อ 9 ธ.ค. 2563]. เข้าถึงได้จาก http://www.emit.go.th/main/business/KnowledgeBase.aspx?cat=23
15. อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล, ชานิ จิตตรีประเสริฐ, ทัศนีย์ สุมามาลย์, บุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน์, วัชรพล ภูนวล, สมเกียรติ โพธิสัตย์, และสุริยะ วิไลนิรันดร์. เส้นทางสู่โรงพยาบาลคุณภาพ คู่มือการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล; 2544.
16. Carret , M. L.V., Fassa, & A. G.,Kawachi, I. Demand for emergency health service : factors associated with inappropriate use. 2007. Retrieved from: http://www.biomedcentral.com/. 1472-6963/7/131
17. 17. Cunningham, P. Nonurgent Use of Hospital Emergency Departments. 2011. Retrieved from: http://www.hschange. com/CONTENT/1204/
18. 18. Durand, A.-C., Gentile, S., Gerbeaux, P., Alazia, M., Kiegle, P., Luigi, S., ... Sambuc, R. Be careful with triage in emergency departments: interobserver agreement on 1,578 patients in France. 2011. Retrieved from: http://www.biomedcentral.com/1471-227X/11/19
19. Forrohknia, N., Castren, M., Ehrenberg, A., Lind, L., Oredsson, S., Jonsson, H., ... Goransson, K. E. Emergency Department Triage Scales and Their Components: A systematic review of the scientific evidence. 2011. Retrieved from: http://www.sjtrem.com/content/19/1/42
20. Mace, S. E., & Mayer, T. A. Triage. Pediatric Emergency Medicine, 1087-1096. 2008. Retrieved from: http://elsevierhealth. com/media/us/.../Chapter20155.pdf
21. Partovi, S.N., Nelson, B.K., Bryan, E.D. & Walsh, M.J.Faculty Triage Shortens Emergency Depertment Length of Stay. 2001. Academic Emergency Medicine, 8(10), 990-995
22. Tsai, J. C. H., Liang, Y. W., & Pearson, W. S. Utilization of Emergency Department in Patients With Non-urgent Medical Problem: Patients Preference and Emergency Department Convenience. 2010. Retrieved from: http://www.ncbi.nlm.nih.gov/ pubmed/20654793

Downloads

เผยแพร่แล้ว

09/08/2021