ปัจจัยแห่งความสำเร็จและปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver) ในหน่วยบริการปฐมภูมิเขตเทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยแห่งความสำเร็จและปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ศึกษาจากผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งหมด 77 คนจากจำนวนประชากรทั้งหมด 78 โดยไม่มีการสุ่มตัวอย่าง ในหน่วยบริการปฐมภูมิเขตเทศบาลนครขอนแก่นจังหวัดขอนแก่น โดยใช้แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลเชิงปริมาณและแนวทางการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ จำนวน 12 คน ซึ่งแบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน และค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยใช้การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาช ได้ค่าเท่ากับ 0.96 ดำเนินการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2567 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน โดยกำหนดระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า ระดับปัจจัยแห่งความสำเร็จระดับปัจจัยทางการบริหารและระดับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่ง อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.59 (S.D.=0.37) 2.48 (S.D.=0.44) และ 2.38 (S.D.=0.52) ตามลำดับ พบว่าภาพรวมปัจจัยทางการบริหารและปัจจัยแห่งความสำเร็จมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขตเทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น (r=0.595, p- value <0.001, 95% CI : 0.266-0.701 และ r=0.505,
p-value<0.001, 95% CI : 0.312-0.755) ตามลำดับ และตัวแปร 2 ตัวประกอบด้วย ปัจจัยทางการบริหารด้านการบริหารจัดการ ปัจจัยแห่งความสำเร็จด้านหน่วยงานสนับสนุนทุกระดับจัดทำแผนเพื่อพัฒนาแผนปฏิบัติงาน มีผลและสามารถร่วมกันพยากรณ์การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขตเทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ได้ร้อยละ 41.6 (R2=0.416)
References
กระทรวงสาธารณสุข. สำนักอนามัยผู้สูงอายุ. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข; 2559.
เกียรติศักดิ์ เชิญกลาง และชัญญา อภิปาลกุล. (2561). ปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการดำเนินงานการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน, 4(2), 92-104.
ชูชัย ศุภวงศ์, สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์, ลัดดา ดำริการเลิศ, สุพัตรา ศรีวณิชากร, เกษม เวชสุทรานนท์, & ศุภกิจ ศิริลักษณ์. คู่มือการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. กรุงเทพฯ: ที คิวพี; 2553.
ตติยภรณ์ มงคลวัจน์ และประจักร บัวผัน. (2565). การสนับสนุนจากองค์การและปัจจัยแห่งความสำเร็จที่มีผลต่อการดำเนินงานการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านอำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบรูณ์. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น, 29(2), 42-53.
ทศพล ใจทาน, ประจักร บัวผัน, & สุรชัย พิมหา. (2564). ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่มีผลต่อการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดเลย. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 21(3),
-171.
เทศบาลนครขอนก่น. (2566). แผนการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้มีภาวะพึ่งพิงขอนแก่น พ.ศ. 2566. ขอนแก่น: เทศบาลนครขอนก่น.
ธนัญชนก รัตนสิมากร, ประจักร บัวผัน, มกราพันธุ ์จูฑะรสก, & นฤปวรรต์ พรหมมาวัย.(2565). ปัจจัยแห่งความสำเร็จและการสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดดาวของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดอุดรธานี. วารสารทันตาภิบาล, 33(2), 111-127.
ธัญญารัตน์ ศรีมุข,ปุญญพัฒน์ ไชยเมลย์, & วัลลภา เชยบัวแก้ว คชภักดี. (2558). การสนับสนุนทางการบริหารกับการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในอำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 18(3), 178-186.
นริศรา ศรีแก้วน้ำใสย์, & ชัญญา อภิปาลกุล. (2560). ปัจจัยทางการบริหารที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์, 10(1), 431-437.
นัฐรินทร์ ช่างศรี, & ประจักร บัวผัน. (2564). ปัจจัยแห่งความสำเร็จและบรรยากาศองค์การที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของนักวิชาการสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดสกลนคร. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 21(3), 172-178.
นิศมา ภูมิชิต. (2561). คุณลักษณะส่วนและการสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อการปฏิบัติงานสุขศาลาของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โซน 4 จังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปภินวิทย์ คำสมาน, มกราพันธุ ์จูฑะรสก, & ประจักร บัวผัน. (2564). ปัจจัยแห่งความสำเร็จและการสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและควบคุมวัณโรคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดสกลนคร. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 21(3), 65-77.
ประจักร บัวผัน. หลักการบริหารสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 4 ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2558
เปรมากร หยาดไธสง, & ประจักร บัวผัน. (2565). แรงจูงใจและปัจจัยแห่งความสำเร็จที่มีผลต่อการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคโควิท 19 ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมตำบล จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 22(2), 175-188.
พัทธ์ชนก พุทธมนต์สิงห์, ประจักร บัวผัน, & ชัญญา อภิปาลกุล. (2562). ปัจจัยแห่งความสำเร็จและการสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดดาวตามการรับรู้ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 19(3), 120-130.
พาฝัน เหล่าน้อย, นครินทร์ ประสิทธิ์, นพรัตน์ เสนาฮาด, & สุรชัย พิมหา. (2566). ปัจจัยแห่งความสำเร็จและปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการปฏิบัติงานทางทันตกรรมในสถานการณ์การระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตสุขภาพที่ 10. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 23(2), 172-183.
ภคมน สมศรี, มกราพันธุ์ จูฑะรสก, & ประจักร บัวผัน. (2564). คุณลักษณะส่วนบุคคลและปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการดูแลผู้สูงอายุของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปอภาร อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 21(3) 200-210.
ภคอร โจทย์กิ่ง, & ประจักร บัวผัน.(2560). การมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านชุมชนสามเหลี่ยม เทศบาลนครขอนแก่น. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น, 24(2), 29-37.
วิลาสินี วงค์ผาบุตร, & ประจักร บัวผัน. (2564). แรงจูงใจและปัจจัยแห่งความสำเร็จที่มีผลต่อการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดกาฬสินธุ์.วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 21(3), 186-199.
สถิตย์ กลมวงค์, & ประจักร บัวผัน. (2565). คุณลักษณะส่วนบุคคลและปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัย มข.(ฉบับบัณฑิตศึกษา), 23(1), 26-37.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570). กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2559). คู่มือสนับสนุนการบริหารจัดการระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ.
สำเริง จันทรสุวรรณ และสุวรรณ บัวทาน. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น;2547
สุกานดา สีลาพัฒน์, & ประจักร บัวผัน. (2566). ปัจจัยแห่งความสำเร็จ และการสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อการปฏิบัติงานสุขาภิบาลอาหารของเจ้าหน้าสาธารณสุขในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 23(1),14-25.
สุทธิยา เบ้าวัน, & ประจักร บัวผัน. (2565). การสนับสนุนจากองค์การและปัจจัยแห่งความสำเร็จที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน, 22(2), 24-37.
สุภาพร เจือมา, & ชนะพล ศรีฤๅชา.(2561) แรงจูงใจและปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้านอำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(3), 54-60.
อรวรรณ สินค้ , & ชนะพล ศรีฤาชา. (2563). ปัจจัย ทางการบริหารและแรงจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 12(3),
-622.
ไอลดา ภารประดิษฐ์, & ประจักร บัวผัน. (2562). คุณลักษณะส่วนบุคคลและปัจจัยทางการบริหาร ที่มีผลต่อกาดูแลผู้สูงอายุของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน อำเภอเมือง จังหวัด สกลนคร. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 13(1), 623-631.
Best, J. W. (1977). Research in education. 3rd ed. Engle Wood Clift, NJ: Prentice-Hall.
Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for the behavior sciences. 2nd ed. Hillsdale NJ: Lawrence Erlbaum.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.