พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีโพแทสเซียมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

ผู้แต่ง

  • ปิยะนารถ คำภูแสน คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • Ratthaphol Kraiklang Kraiklang

คำสำคัญ:

โรคไตเรื้อรัง, โพแทสเซียม, ความรู้

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภค ระดับความรู้ ทัศนคติ อาหารที่มีโพแทสเซียมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มารับบริการที่โรงพยาบาลเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนคร วิธีการ: การวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง จำนวน 280 ราย ทำการศึกษาในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มารับบริการในคลินิกพิเศษในวันพุธ-วันศุกร์ เวลา 08.00 น.-12.00 น. โดยใช้แบบสัมภาษณ์ ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล การบริโภคอาหารย้อนหลังในช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา ความถี่ในการบริโภคอาหารที่มีโพแทสเซียม ความรู้ ทัศนคติ และการให้บริการสุขภาพเกี่ยวกับบริโภคอาหารที่มีโพแทสเซียมจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติสถิติเชิงพรรณนา

ผลการวิจัย: ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ59.29 อายุอยู่ในช่วง 50-59 ปี มากที่สุด ร้อยละ 81.07 โดยส่วนใหญ่มีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะแรกร้อยละ 79.29 และระยะท้ายร้อยละ 20.71 มีความรู้อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 75.00 ทัศนคติผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะแรก และระยะท้าย ส่วนใหญ่มีทัศนคติอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 46.55 และร้อยละ 55.41 ผู้ป่วยโรค
ไตเรื้อรังส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเกี่ยวกับการให้บริการสุขภาพเกี่ยวกับบริโภคอาหารที่มีโพแทสเซียมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 50.36

สรุป: ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังมีความรู้อยู่ในระดับต่ำ และผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะแรกบริโภคอาหารที่มีโพแทสเซียมต่ำกว่า 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน สำหรับผู้ป่วยโรค

 

Author Biography

ปิยะนารถ คำภูแสน, คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

นักโภชนาการ

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2565). ระบาดวิทยาและการทบทวนมาตรการป้องกันเรื้อไตเรื้อรัง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์กรสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

กวิศรา สอนพูด, & ลัฆวี ปิยะบัณฑิตกุล. (2563). การดูแลสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อมของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิต และประชาชนในชุมชนแห่งหนึ่ง จังหวัดศรีษะเกษ. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 40(1), 101-114.

ธิดารัตน์ อภิญญา. (บรรณาธิการ). (2559). คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง (CKD) ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์กรสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์.

โรงพยาบาลเจริญศิลป์. (2565). บันทึกประชุมทีม Patient Care Team (PCT) แผนการให้บริการรักษาผู้ป่วยโรคติดต่อไม่เรื้อรัง. สกลนคร: โรงพยาบาลเจริญศิลป์.

ละออ ชมพักตร์. (2554). Fluid, electrolyte and acid-base disorders: เอกสารประกอบการสอน. พิษณุโลก: ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วิชัย เอกพลากร, หทัยชนก พรรคเจริญ, & วราภรณ์ เสถียรนพเก้า บรรณาธิการ. (2564). การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562-2563. นนทบุรี: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซด์.

สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย และสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. (2561). คำแนะนำแนวทางเวชปฏิบัติโภชนบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคไตในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย.

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันคนไทย พ.ศ. 2563. กรุงเทพฯ: เอ.วี. โปรเกรสซีฟ.

Belmar Vega, L., Galabia, E. R., Bada da Silva, J., Bentanachs González, M., Fernández Fresnedo, G., Piñera Haces, C., et al. (2019). Epidemiology of hyperkalemia in chronic kidney disease. Nefrologia, 39(3), 277-286.

Caravaca-Fontán, F., Valladares, J., Díaz-Campillejo, R., Barroso, S., Luna, E., & Caravaca, F. (2019). Association of hyperkalemia with clinical outcomes in advanced chronic kidney disease. Nefrologia, 39(5), 513-522.

Collins, A. J., Pitt, B., Reaven, N., Funk, S., McGaughey, K., Wilson, D., et al. (2017). Association of serum potassium with all-cause mortality in patients with and without heart failure, chronic kidney disease, and/or diabetes. American Journal of Nephrology, 46(3), 213-221.

Deriaz, D., Guessous, I., Vollenweider, P., Devuyst, O., Burnier, M., Bochud, M., et al. (2019). Estimated 24-h urinary sodium and sodium-to-potassium ratio are predictors of kidney function decline in a population-based study. Journal of Hypertension, 37(9), 1853-1860.

DuBose T. D., Jr. (2017). Regulation of potassium homeostasis in CKD. Advances in Chronic Kidney Disease, 24(5), 305-314.

Einhorn, L. M., Zhan, M., Hsu, V. D., Walker, L. D., Moen, M. F., Seliger, S. L., et al. (2009). The frequency of hyperkalemia and its significance in chronic kidney disease. Archives of Internal Medicine, 169(12), 1156-1162.

Kim, H. W., Park, J. T., Yoo, T. H., Lee, J., Chung, W., Lee, K. B., et al. (2019). Urinary Potassium Excretion and Progression of CKD. Clinical Journal of the American Society of Nephrology, 14(3), 330-340.

Picard, K., Barreto Silva, M. I., Mager, D., & Richard, C. (2020). Dietary potassium intake and risk of chronic kidney disease progression in predialysis patients with chronic kidney disease: A systematic review. Advances in Nutrition, 11(4), 1002-1015.

Rosano, G. M. C., Tamargo, J., Kjeldsen, K. P., Lainscak, M., Agewall, S., Anker, S. D., et al. (2018). Expert consensus document on the management of hyperkalaemia in patients with cardiovascular disease treated with renin angiotensin aldosterone system inhibitors: Coordinated by the Working Group on Cardiovascular Pharmacotherapy of the European Society of Cardiology. European Heart Journal. Cardiovascular Pharmacotherapy, 4(3), 180-188.

Shrestha, N., Gautam, S., Mishra, S. R., Virani, S. S., & Dhungana, R. R. (2021). Burden of chronic kidney disease in the general population and high-risk groups in South Asia: A systematic review and meta-analysis. PloS One, 16(10), 1-19.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-19