วิเคราะห์เชิงพื้นที่ต่อการเกิดโรคเลปโตสไปโรสิส ด้วยการประมาณค่าแบบถ่วงน้ำหนักระยะผกผัน

ผู้แต่ง

  • Wacharapong Saengnill -
  • จารุวรรณ์ วงบุตดี วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
  • จุฑารัตน์ จิตติมณี วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

เลปโตสไปโรสิส, การวิเคราะห์เชิงพื้นที่, สถิติสหสัมพันธ์, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

บทคัดย่อ

โรคเลปโตสไปโรสิสเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข และมีการระบาดอย่างต่อเนื่อง การติดตาม และการเฝ้าระวังควรใช้ข้อมูลสุขภาพเชิงพื้นที่ เพื่อจำแนกรูปแบบการกระจายและคาดการณ์พื้นที่เสี่ยง ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการกระจายเชิงพื้นที่และจุดร้อนแรงของโรคเลปโตสไปโรสิส และ 2) เพื่อทำนายพื้นที่เสี่ยงต่อโรคเลปโตสไปโรสิส โดยข้อมูลผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิสใน 3 อำเภอของจังหวัดศรีสะเกษถูกรวบรวมระหว่างปี พ.ศ. 2560-2564 และเชื่อมโยงข้อมูลกับตำแหน่งหมู่บ้าน จากนั้นวิเคราะห์รูปแบบการกระจายเชิงพื้นที่ด้วย Univariate Moran’s I และจุดร้อนแรงด้วย Local Getis-Ord Gi* จากนั้นวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงจากการประมาณค่าแบบถ่วงน้ำหนักระยะผกผัน (IDW) ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบกระจายเชิงพื้นที่ของโรคเลปโตสไปโรสิสเป็นแบบกลุ่ม (Cluster) มีค่าความสัมพันธ์ (Moran’s I) เท่ากับ 0.079 ผลการวิเคราะห์จุดร้อนแรงพบว่า มีจำนวน 49 หมู่บ้าน สำหรับพื้นที่เสี่ยงต่อโรคเลปโตสไปโรสิสพบว่า ค่าสูงสุดมีค่าเท่ากับ 6.974 และค่าต่ำสุดมีค่าน้อยกว่า 0.001 (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.432 และ S.D. เท่ากับ 0.502) จากนั้นพื้นที่เสี่ยงถูกแบ่งช่วงข้อมูลออกเป็น 4 ระดับ คือ เสี่ยงสูงมาก เสี่ยงสูง เสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงต่ำ ดังนั้นการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถวิเคราะห์รูปแบบการกระจายเชิงพื้นที่และการทำนายพื้นที่เสี่ยง ซึ่งจะเป็นสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการใช้ประกอบการติดตาม และการเฝ้าระวังโรคเลปโตสไปโรสิสต่อไป

References

สรวงสุดา คงมั่ง. (2553). การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 9(1), 76-89.

สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). รายงานโรคในระบบเฝ้าระวัง 506: โรคเลปโตสไปโรสิส. ค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564, จาก http://doe.moph.go.th/surdata/disease.php?ds=43

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ. (2565) โรคเลปโตสไปโรสิส จังหวัดศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ: สำนักงาน. (เอกสารไฟล์ดิจิทัล).

Adler, B., & de la Pena Moctezuma, A. (2010). Leptospira and leptospirosis. Veterinary Microbiology, 140(3-4), 287–296.

Astudillo, V. G., Hernández, D. W., Stadlin, J. P., Bernal, L. A., Rodríguez, D. A., & Hernández, M.A. (2012). Comparative seroprevalence of Leptospira interrogans in Colombian mammals along a climatic gradient. Journal of Zoo and Wildlife Medicine, 43(4), 768-775.

Chadsuthi, S., Chalvet-Monfray, K., Geawduanglek, S., Wongnak, P., & Cappelle, J. (2022). Spatial-temporal patterns and risk factors for human leptospirosis in Thailand, 2012-2018. Scientific Reports, 12(1), 5066.

Chadsuthi, S., Chalvet-Monfray, K., Wiratsudakul, A., & Modchang, C. (2021). The effects of flooding and weather conditions on leptospirosis transmission in Thailand. Scientific Reports, 11(1), 1486.

Chadsuthi, S., Modchang, C., Lenbury, Y., Iamsirithaworn, S. & Triampo, W. (2012). Modeling seasonal leptospirosis transmission and its association with rainfall and temperature in Thailand using time-series and ARIMAX analyses. Asian Pacific Journal of Tropical Medicine, 5(7), 539–546.

Haake, D. A. & Levett, P. N. (2015). Leptospirosis in humans. Current Topics in Microbiology and Immunology, 387, 65–97.

Hacker, K. P., Sacramento, G. A., Cruz, J. S., de Oliveira, D., Nery, N. Jr., Lindow, J. C., et al. (2020). Influence of Rainfall on Leptospira Infection and Disease in a Tropical Urban Setting, Brazil. Emerging Infectious Diseases, 26(2), 311-314.

Ijaz, M., Abbas, S. N., Farooqi, S. H., Aqib, A. I., Anwar, G. A., Rehman, A., et al. (2018). Sero-epidemiology and hemato-biochemical study of bovine leptospirosis in flood affected zone of Pakistan. Acta Tropica, 177, 51–57.

Jittimanee, J., & Wongbutdee, J. (2014). Survey of pathogenic Leptospira in rats by polymerase chain reaction in Sisaket Province. Journal of the Medical Association of Thailand, 97(Suppl 4), S20-S4.

Jittimanee, J., & Wongbutdee, J. (2019). Prevention and control of leptospirosis in people and surveillance of the pathogenic Leptospira in rats and in surface water found at villages. Journal of Infection and Public Health, 12(5), 705-711.

Johnston, K., Ver Hoef, J.M., Krivoruchko, K., & Lucas, N. (2001). Using ArcGIS Geostatistical Analyst. ESRI, New York, USA.

Kawaguchi, L., Sengkeopraseuth, B., Tsuyuoka, R., Koizumi, N., Akashi, H., Vongphrachanh, P., et al. (2008) Seroprevalence of leptospirosis and risk factor analysis in flood-prone rural areas in Lao PDR. American Journal of Tropical Medicine and Hygiene, 78, 957–961.

Levett, P.N. (2001). Leptospirosis. Clinical Microbiology Reviews, 14, 296-326.

Luenam, A., & Puttanapong, N. (2019). Spatial and statistical analysis of leptospirosis in Thailand from 2013 to 2015. Geospatial Health, 14(1), 121-127.

Mohammadinia, A., Alimohammadi, A., & Saeidian, B. (2017). Efficiency of Geographically Weighted Regression in Modeling Human Leptospirosis Based onEnvironmental Factors in Gilan Province, Iran. Geosciences, 7(4), 136.

Phosri, A. (2022). Effects of rainfall on human leptospirosis in Thailand: evidence of multi-province study using distributed lag non-linear model. Stochastic Environmental Research and Risk Assessment, 36(12), 4119-4132.

Plouffe Cameron, C. F. (2016). Space-time modelling of emerging infectious diseases: Assessing leptospirosis risk in Sri Lanka. Master of Science Thesis in Geography, Wilfrid Laurier University, Canada.

Suwanpakdee, S., Kaewkungwal, J., White, L. J., Asensio, N., Ratanakorn, P., Singhasivanon, P., et al. (2015). Spatio-temporal patterns of leptospirosis in Thailand: Is flooding a risk factor? Epidemiology and Infection, 143(10), 2106-2115.

Toemjai, T., Thongkrajai, P., & Nithikathkul, C. (2022). Factors affecting preventive behavior against leptospirosis among the population at risk in Si Sa Ket, Thailand. One Health, 14, e100399.

Wongbutdee, J., & Jittimanee, J. (2022). The viability of Leptospira is related to physicochemical properties of the surface water surrounding an agricultural area and HemO and LipL32 gene expression in response to iron in water. Transactions of the Royal Society of Tropical Medicine and Hygiene, 116(7), 609-621.

Wongbutdee, J., Saengnill, W., Jittimanee, J., & Daendee, S. (2016). Perceptions and risky behaviors associated with Leptospirosis in an endemic area in a village of Ubon Ratchathani Province, Thailand. African Health Sciences, 16(1), 170-176.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-20