การเยี่ยมบ้านในงานดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่บ้าน
คำสำคัญ:
Chronic kidney disease, home health care, self-careบทคัดย่อ
โรคไตเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลกที่มีแนวโน้มการเพิ่มขึ้น ด้วยธรรมชาติของโรคที่ไม่แสดงอาการให้ตรวจพบได้ในระยะแรก ส่งผลให้สูญเสียโอกาสในการป้องกันการดำเนินไปของโรคในระยะสุดท้าย ซึ่งผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังมีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายหรือภาวะไตวายที่มีผลตามมาทั้งด้านสุขภาพ และค่าใช้จ่ายในการรักษา ทั้งนี้ การดำเนินของโรคไปสู่ภาวะไตวายหรือผลลัพธ์ที่ไม่เป็นต้องการอื่นๆสามารถป้องกันหรือชะลอได้ด้วยการตรวจคัดกรอง การดูแลรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น และการจัดการตนเองของผู้ป่วยเป็นวิธีการที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพที่สุด การเยี่ยมบ้านเป็นรูปแบบการบริการที่เป็นส่วนหนึ่งของการบริการดูแลสุขภาพที่บ้านโดยเน้นให้ผู้ป่วยและญาติมีศักยภาพและความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่บ้านมากขึ้น นอกจากนี้ ยังหนุนเสริมการความครอบคลุมการตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรัง โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงในครอบครัว กระตุ้นให้เกิดความตระหนัก และมีพฤติกรรมการป้องกันโรคไตเรื้อรังของคนในครอบครัวและชุมชน ดังนั้น ในการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง การเยี่ยมบ้านอย่างสม่ำเสมอควรอยู่ในแผนการดูแลรักษาเพื่อให้มีการชะลอความเสื่อมของไต
References
กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. (2559). โรคไตเรื้อรัง. ค้นเมื่อ 10 มกราคม 2565, จาก https://www.thaincd.com/2016/media-detail.php?id=13222&tid&gid=1-015-009.
คณะอนุกรรมการการลงทะเบียนการบำบัดทดแทนไตในประเทศไทย สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. (2563). ข้อมูลการบำบัดทดแทนไตในประเทศไทย พ.ศ. 2559-2562. ค้นเมื่อ 10 มกราคม 2565, จาก https://www.nephrothai.org/wp-content/uploads/2021/ 01/1.TRT.Annual-report-2016-2019.pdf
คลังข้อมูลการแพทย์และสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2562). Health Data Center: HDC. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.
คลังข้อมูลการแพทย์และสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2565). Health Data Center: HDC. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.
พุทธชาติ มากชุมชน, นิลินี พูลทรัพย์, & ทิพาพร พงษ์เมษา. (2559). ผลการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยทีมสหวิชาชีพ. วารสาร Veridian E-Journal, Science and Technology Silapkorn University, 3(1), 13-33.
ไพศาล ไตรสิริโชค, หลั่งพร อุตรศาสตร์, & วราทิพย์ แก่นการ. (2562). ผลของการสนับสนุนการจัดการตนเองโดยทีมสหสาขาวิชาชีพเพื่อชะลอโรคไตเรื้อรังในหน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น. ศรีนครินทร์เวชสาร, 34(6), 552-558.
ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. (2564). Home care. ค้นเมื่อ 10 มกราคม 2565, จาก https://www.rama.mahidol.ac.th/fammed/th/postgrad/homecare
มนัชญา เสรีวิวัฒนา, ยุพาวรรณ ทองตะนุนาม, & สุดาวรรณ์ ลิ่มอักขรา. (2561). การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อชะลอการเสื่อมของไต โดยใช้แนวคิดการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและผดุงครรภ์ไทย, 5(1), 45-56.
วัชราพร เชยสุวรรณ, สุภรณี โพธิสา, & ยุวดี วงษ์แสง. (2563). ผลของโปรแกรมการเยี่ยมบ้านแบบมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมสุขภาพและความดันโลหิตของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนเลือกสรร แขวงบุคคโล เขตธนบุรี. วารสารแพทย์นาวี, 47(3), 525-543.
สำนักการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. (2557). เกณฑ์คุณภาพงานเยี่ยมบ้าน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
โสภณ เฆมธน, ประสทธิ์ มั่งจิตร, สุภโชค เวชภัณฑ์เภสัช, สันติ ลาภเบญจกุล, ดวงดาว ศรียากูล, สิริชัย นามทรรรศนีย์, และคณะ. (2559).
แนวทางการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัวสำหรับหน่วยบริการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
Centers for Disease Control and Prevention. (2021). Chronic kidney disease in the United States. Retrieved January 10, 2022, from.https://www.cdc.gov/kidneydisease/publication-resource/CKD-national-facts.html
Coresh, J. (2017). Update on the burden of CKD. Journal of the American Society of Nephrology, 28, 1020-1022.
Ene-Iordache, B., Perico, N., Bikbov, B., Carminati, S., Remuzzi, A., Perna, A., et al. (2016). Chronic kidney disease and cardiovascular risk in six regions of the world (ISN-KDDC): A cross-sectional study. Lancet Global Health, 4, e307–e319.
Joseph, A. L. III, & Marian, R. S. (1999). The BATHE method: incorporating counseling and psychotherapy into the everyday management of patients. Primary Care Companion Journal of Clinical Psychiatry, 1(2), 35-38.
Liyanage, T., Ninomiya, T., Jha, V., Neal, B., Patrice, H.M., Okpechi, I., et al. (2015). Worldwide access to treatment for end-stage kidney disease: a systematic review. Lancet, 385(9981), 1975-82.
Luyckx, V. A., Tonelli, M., & Stanifer, J. W. (2018). The global burden of kidney disease and the sustainable development goals. Bulletin World Health Organization, 96, 414-422C.
Mill, K. T., Xu, Y., Zhang, W., Bundy, J. D., Chen, C. S., Kelly, T. N., et al. (2015). A systematic analysis of worldwide population-based data on the global burden of chronic kidney disease in 2010. Kidney International, 88, 950-957.
Norton, J. M., Newman, E. P., Romancito, G., Mahooty, S., Kuracina, T., & Narva, A. S. (2017). CE: Improving Outcomes for Patients with Chronic Kidney Disease: Part 2. The American Journal of Nursing, 117(3), 26-35.
Nurseinfo. [n.d.]. Home visit-community health nursing: Concept of home visiting, purposes, principles, steps and advantage. Retrieved January 10, 2022, from https://nurseinfo.in/home-visit/
Thurlow, J. S., Joshi, M., Yan, G., Norris, K. C., Agodoa, L. Y., Yuan. C. M., et al. (2021). Global epidemiology of end-stage kidney disease and disparities in kidney replacement therapy. American Journal of Nephrology, 52, 98-107.
Tonelli, M., Muntner, P., Lloyd, A., Manns, B. J., Klarenbach, S., Pannu, N., et al. (2012). Risk of coronary events in people with chronic kidney disease compared with those with diabetes: a population-level cohort study. The Lancet, 380(9844), 807–814.
Zhang, Q. L., & Rothenbacher, D. (2008). Prevalence of chronic kidney disease in population-based studies: Systematic review. BMC Public Health, 8, 117.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.