ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มาใช้บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบึงคำพร้อย อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
คำสำคัญ:
ผู้สูงอายุ, ภาวะสมองเสื่อม, โรคความดันโลหิตสูง, โรคเบาหวานบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินและคัดกรองภาวะสมองเสื่อม ในผู้สูงอายุ ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นผู้สูงอายุทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่มาใช้บริการในโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบึงคำพร้อย หมู่ 11 อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี จำนวน 65 คน การรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม พ.ศ.2561 โดยใช้แบบประเมินสุขภาพของผู้สูงอายุ แบบทดสอบสมรรถภาพ สมองเบื้องต้น ฉบับภาษาไทย: MMSE-Thai 2002 และแบบประเมินสมรรถภาพสมอง Dementia Screening Tool-Region 11(DST- R11) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่าผู้สูงอายุ จำนวน 6 คน (ร้อยละ 9.2) ที่สงสัยว่ามีภาวะสมองเสื่อม เป็นเพศหญิงจำนวน 5 คน (ร้อยละ7.7) เพศชายจำนวน 1 คน(ร้อยละ1.5) มีอายุระหว่าง 77-95 ปีและพบว่าปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุมีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะสมองเสื่อมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
References
กชกร ธรรมนำศีล, ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, พัชราพร เกิดมงคล, & จินตนา อาจสันเที๊ย. (2558). โปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้เขตกรุงเทพมหานคร.วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 29(2), 43-55.
กิตติพร เนาว์สุวรรณ, ประไพพิศ สิงหเสม, & เยาวลักษณ์ ยิ้มเยือน. (2559). ความสัมพันธ์และอำนาจในการทำนายของแรงสนับสนุนทาง สังคมที่มีต่อการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง. วารสารวิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนีอุตรดิตถ์, 8(1), 1-13.
เกษริน อุบลวงศ์, & นัยนา พิพัฒน์วณิชชา. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมป้องกันโรคสมองเสื่อมของ ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 33(2), 14-23.
ณัฐภัสสร เดิมขุนทด, & ประสิทธิ์ ลีวัฒนภัทร. (2557). การศึกษาผลของโปรแกรมการให้ความรู้เรื่องเบาหวานต่อระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วชิรสารการพยาบาล, 19(1), 33-41.
ดารณี ทองสัมฤทธิ์, กนกวรรณ บริสุทธิ์, & เยาวลักษณ์ มีบุญมาก. (2560). ผลของการใช้โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพต่อความ สามารถในการดูแลตนเองของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานในตำบลวัดเพลง อำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 28(1), 26-37.
ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์, & สายพิน สุริยวงค์. (2554). มุมมองการป่วยของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน. วารสารสภาการพยาบาล, 26(4), 96-107.
ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี. (2557). การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบเรื่องมาตรการการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ. นนทบุรี: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
ธิติพันธ์ ธานีรัตน์ และคณะ. (2560). การพัฒนาเครื่องมือแบบคัดกรองภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุไทย. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่ง ประเทศไทย, 62(2), 177-186.
นิติกุล บุญแก้ว, อัญชลี ช. ดูวอล, นุชรินทร์ โพธารส, มลฤดี เพ็ชร์ลมุล, & สุพิญญา คงเจริญ. (2557). ภาวะสมองเสื่อมการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน และภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคม จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 9(3), 173-183.
ประเสริฐ อัสสันตชัย. (2556). ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการป้องกัน (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพ: ยูเนี่ยนครีเอชั่น.
ผ่องพันธ์ อรุณแสง. (2555). การพยาบาลปัญหาสำคัญของผู้สูงอายุ (พิมพ์ครั้งที่ 3). ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
มุกดา หนุ่ยศรี. (2559). การป้องกันภาวะสมองเสื่อม. วารสารพยาบาลตำรวจ, 8(1), 227-240.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2559. นครปฐม: พริ้นเทอรี่.
ยุภาพร นาคกลิ้ง, & ปราณี ทัดศรี. (2560). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมการรับรู้ความสามารถตนเองต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้. วารสารสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 6(1), 27-35.
รังสิมา รัตนศิลา, ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, & สิริประภา กลั่นกลิ่น. (2558). ผลของโปรแกรมการจัดการผู้ป่วยรายกรณีผู้สูงอายุโรค เบาหวานที่ควบคุมไม่ได้. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 29(1), 67-79.
ลลิตา พนาคร, สุธรรม นันทมงคลชัย, ศุภชัย ปิติกุลตัง, โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์, & พิมพ์สุรางค์ เตชะบุญเสริมศักดิ์. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุหญิง จังหวัดลำพูน. วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 45(2), 197-209.
วรรณรา ชื่นวัฒนา, & ณิชานาฏ สอนภักดี. (2557). พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยปทุมธานี, 6(3), 163-170.
วัลลภา อันดารา, อุบลรัตน์ สิงหเสนี, & ปัทมา วงค์นิธิกุล. (2559). ภาวะสมองเสื่อมความรู้เรื่องโรคและการป้องกันโรคสมองเสื่อมและข้อมูลส่วนบุคคลของผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุวิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ. วารสารพยาบาลตำรวจ, 8(1), 23-33.
สถาบันประสาทวิทยา. (2551). แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสองเสื่อม ฉบับเรียบเรียง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สถาบันประสาทวิทยา.
สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. (2560). แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน (พิมพ์ครั้งที่ 3). ปทุมธานี: ร่มเย็นมีเดีย.
สายสุนีย์ เลิศกระโทก, สุธรรม นันทมงคลชัย, & ศุภชัย ปิติกุลตัง. (2556). ความชุกของภาวะสมองเสื่อมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ต.อรพิมพิ์ อ.ครบุรี จ. นครราชสีมา. วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 43(1), 42-45.
สิรินทร ฉันศิรฺกาญจน์ และคณะ. (2558). สมรรถนะสมองของผู้ใหญ่และผู้สูงอายุไทย: ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อม. วารสารพิษวิทยาไทย, 30(1), 41-49.
สิริวัฒน์ อายุวัฒน์, อภิเชษฐ์ พูลทรัพย์, & นิดา มีทิพย์. (2560). การคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเพื่อจัดกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 4(ฉบับพิเศษ), 131-146.
อภิชัย สิรกุลจิรา. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดกับการเกิดภาวะเสี่ยงสมองเสื่อมในผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน. วารสารกรมการแพทย์, 42(1), 112-117.
อรพินท์ สีขาว, รัชนี นามจันทรา, & สุทธิศรี ตระกูลสิทธิโชค. (2556). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2โรงพยาบาลหัวเฉียว. วารสารพยาบาลทหารบก, 14(3), 39-49.
อ้อมใจ แต้เจริญวิริยะกุล, & กิตติยา ศิลาวงศ์ สุวรรณกูฎ. (2559). การรับรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตำบลทุ่งมน อำเภอปราสาท จังหวดัสุรินทร์. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 9(2), 331-338.
อาทิตยา สุวรรณ์, & สุทธิศรี ตระกูลสิทธิโชค. (2559). ความชุกของภาวะสมองเสื่อมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี. สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 5(2), 21-32.
Department of Economic and Social Affairs, Population Division, United Nations. (2016). World population prospect: The 2015 revision. United Nations: Department of Economic and Social Affairs.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.