การประเมินความเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยงทางการยศาสตร์ของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดหนองคาย
คำสำคัญ:
การยศาสตร์, การประเมินความเสี่ยง, ปัจจัยเสี่ยง, ผู้ใช้คอมพิวเตอร์, แสงสว่างบทคัดย่อ
ท%าทางการทำงานที่ไม%เหมาะสมและชั่วโมงยาวนานกับการใชคอมพิวเตอร ส%งผลตามมาดานการ
ปวด คอ ไหล% หลัง ของผูใชคอมพิวเตอรได การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินความเสี่ยงทางการย
ศาสตร และปจจัยเสี่ยงทางการยศาสตรการทำงานคอมพิวเตอรของเจาหนาที่ผูใชคอมพิวเตอรในโรงพยาบาล
ส%งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดหนองคาย เป6นการศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง เก็บขอมูลโดยใชแบบ
สัมภาษณมีโครงสราง ตรวจวัดความเขมของแสง และประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตรโดยใช A
Proposed Rapid Upper Limb Assessment (RULA) for computer users (RULA สำหรับผูใชคอมพิวเตอร)
กลุ%มตัวอย%างจำนวน 145 คนโดยสุ%มแบบมีระบบ วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน
เพื่อหาความสัมพันธใชการวิเคราะหถดถอยลอจิสติก (Simple logistic regression) ช%วงเชื่อมั่นที่ระดับ
ความเชื่อมั่น 95% ผลการศึกษาพบว%ากลุ%มตัวอย%างมีปญหาดานการยศาสตรการทำงานกับคอมพิวเตอร โดย
พบปญหาสูงดานท%าทางการยกแขนส%วนบน รอยละ 73.1 รองลงมาคือการกมคอ รอยละ 62.8 และการ
กระดกขอมือขึ้นลง รอยละ 57.2 ผลความเสี่ยงทางการยศาสตรที่ระดับสูง (ตองปรับปรุง) รอยละ 33.8 และ
ระดับสูงมาก (ตองปรับปรุงโดยด%วน) รอยละ 29.7 แสงสว%างต่ำกว%ามาตรฐาน (<600 Lux) รอยละ 80.7
และพบว%าความเสี่ยงทางการยศาสตรที่ระดับสูงขึ้นไป ท%าทางการยกแขนส%วนบน และการกมคอมี
ความสัมพันธกับการปวดคอ ไหล% หลังของเจาหนาที่ผูใชคอมพิวเตอรอย%างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-value <
0.05) สรุปผลการศึกษา เจาหนาที่ผูใชคอมพิวเตอรในโรงพยาบาลส%งเสริมสุขภาพตำบล มีปญหาดานสัมผัส
ความเสี่ยงสูงทางการยศาสตร และท%าทางการทำงานกับคอมพิวเตอรที่อาจเป6นสาเหตุใหเกิดการปวดคอ ไหล%
หลัง ไดจึงควรใหความรูเกี่ยวกับดานการยศาสตรในการทำงานคอมพิวเตอร เพื่อป`องกันปญหาการปวดคอ
ไหล% หลังในพนักงานกลุ%มนี้โดยใหมีการออกแบบสถานีงานใหถูกหลักการยศาสตรต%อไป