ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารโดยใช้อาหารแลกเปลี่ยนต่อพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา
คำสำคัญ:
ผูปGวยเบาหวานชนิดที่ 2; อาหารแลกเปลี่ยนบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุงหมายเพื่อการศึกษาผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหาร
โดยใชอาหารแลกเปลี่ยนตอพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผูป'วยเบาหวานชนิดที่ 2 อำเภอ
พระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา โดยการประยุกต5ใชทฤษฎีแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพ รวมกับแรง
สนับสนุนทางสังคม โดยใชการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) กลุมตัวอยางที่ศึกษา คือ
ผูป'วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไดจากการสุมอยางงาย จำนวนทั้งสิ้น 76 คน แบงเปNนกลุมทดลอง และกลุม
เปรียบเทียบกลุมละ 38 คน โดยกลุมทดลองไดรับโปรแกรม ซึ่งประกอบดวย เสริมสรางความรู และการรับรู
โอกาสเสี่ยง รับรูความรุนแรง การรับรูประโยชน5 และรับรูอุปสรรคเกี่ยวกับการบริโภคอาหารสำหรับผูป'วย
เบาหวาน โดยการบรรยายเกี่ยวกับอาหารสามสี ปริมาณแคลลอรี่ที่ไดรับจากอาหารแตละประเภท ภาพพลิก
ตัวอยางอาหาร การสาธิตการเลือกอาหารแลกเปลี่ยน การฝSกเลือกอาหารแลกเปลี่ยน การแลกเปลี่ยน
ประสบการณ5 และการติดตามเยี่ยมบาน ระยะเวลาดำเนินการ 8 สัปดาห5 เก็บรวบรวมขอมูลโดยใช
แบบสอบถาม วิเคราะห5ลักษณะทางประชากรโดยใชสถิติเชิงพรรณนา แสดงคา รอยละ คาเฉลี่ย สวน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกตางคาเฉลี่ยคะแนนดวยสถิติ Dependent t-test และ
Independent t-test ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05
ผลการวิจัย พบวา หลังการทดลองผูป'วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในกลุมทดลองมีคาเฉลี่ยคะแนนดาน
ความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ดานการรับรูโอกาสเสี่ยงตอการบริโภคอาหาร การรับรูความรุนแรงของการ
บริโภคอาหาร การรับรูประโยชน5และอุปสรรคในการบริโภคอาหาร และการปฏิบัติตนในการดูแลตนเอง
เพิ่มขึ้นมากกวากอนการทดลอง และเพิ่มขึ้นมากกวากลุมเปรียบเทียบ อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
นอกจากนี้ ผลการเปรียบเทียบระดับน้ำตาลในเลือดของกลุมทดลองกับกลุมเปรียบเทียบกอนและหลังการ
ทดลอง พบวา มีความแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
โดยสรุป โปรแกรมการปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารโดยการใชอาหารแลกเปลี่ยนมีผลทำให
ผูเขารวมโปรแกรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น และควบคุมระดับ
น้ำตาลในเลือดไดเหมาะสม