การศึกษาเปรียบเทียบความดันตาท่าต่างๆ ในผู้ป่วยต้อหินมุมปิด ก่อนและหลังผ่าตัดต้อกระจก

ผู้แต่ง

  • ยุวเรศ ฉัตรฐากูร กลุ่มงานจักษุวิทยา โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช

คำสำคัญ:

โรคต้อหินมุมปิด, ความดันตา, การผ่าตัดต้อกระจก

บทคัดย่อ

บทนำ: การลุกลามของโรคต้อหินมักเกิดจากการควบคุมความดันตาไม่ได้

วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบติดตามไปข้างหน้า เพื่อศึกษาความดันตาท่าต่างๆ ความดันตาที่เปลี่ยนไป และปัจจัยที่สัมพันธ์กับความดันตาในผู้ป่วยต้อหินมุมปิดก่อนและหลังผ่าตัดต้อกระจก กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคต้อหินมุมปิดจำนวน 55 คน เครื่องมือ ได้แก่ เครื่องวัดความดันลูกตาแบบปากกาขนาดเล็ก และแบบบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติทดสอบค่าทีแบบคู่

ผลการศึกษา: 1) ความดันตาท่านั่งก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัดต่ำกว่าความดันตาในท่านอนหงาย ท่านอนตะแคงข้างเดียวกับตาที่ศึกษา ท่านอนตะแคงตรงข้ามกับตาที่ศึกษา และท่านอนคว่ำ 2) การผ่าตัดชนิด Phacoemulsification with posterior chamber intraocular lens implantation จะทำให้ความดันตาลดลง 3) ความดันตาที่เปลี่ยนไปหลังผ่าตัดต้อกระจกในท่านอนหงายลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีค่าความดันตาที่เปลี่ยนไปมากกว่าท่าอื่นๆ

สรุป: จากผลการศึกษา ควรแนะนำผู้ป่วยนอนท่าหงายและหลีกเลี่ยงการนอนตะแคงและนอนคว่ำ จะช่วยลดการลุกลามของโรคต้อหินมุมปิดได้

Downloads

Download data is not yet available.

References

Tham YC, Li X, Wong TY, Quigley HA, Aung T, Cheng CY. Global prevalence of glaucoma and projections of glaucoma burden through 2040: a systematic review and meta-analysis. Ophthalmology 2014; 121(11) : 2081–2090.

Quigley HA, Friedman DS, Congdon NG. Possible mechanisms of primary angle-closure and malignantglaucoma. J Glaucoma 2003;12(2):167–180.

Emanuel ME, Gedde SJ. Indications for a systemic work-up in glaucoma. Can J Ophthalmol 2014;49(6):506-11.

Park HY, Choi SI, Choi JA, Park CK. Disc Torsion and Vertical Disc Tilt Are Related to Subfoveal Scleral Thickness in Open-Angle Glaucoma Patients With Myopia. Invest Ophthalmol Vis Sci 2015;56(8):4927-35.

Omodaka K, Horii T, Takahashi S, Kikawa T, Matsumoto A, Shiga Y, et al. 3D evaluation of the lamina cribrosa with swept-source optical coherence tomography in normal tension glaucoma. PloS one 2015;10(4):1223-47.

Park, J. H., Yoo, C., Song, J. S., Lin, S. C. & Kim, Y. Y, . Effect of cataract surgery on intraocular pressure in supine and lateral decubitus body postures. Indian Journal of Ophthalmology 2015; 64(10):727-732.

หน่วยงานเวชระเบียน โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช. (2565). สถิติผู้ป่วยปี พ.ศ. 2562-2564. กลุ่มงานสารสนเทศ โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช.

Quigley HA & Broman AT : Thenumber of people withglaucoma worldwidein 2010 and 2020. Br J Ophthalmol 2020;90: 262–267.

Melancia, D., Abegao Pinto, L. & Marques-Neves, C. Cataract surgery and intraocular pressure. Ophthalmic Res 2015;53:141–148.

Chen, P. P. et al. Te Efect of Phacoemulsifcation on Intraocular Pressure in Glaucoma Patients: A Report by the American Academy of Ophthalmology. Ophthalmology 2015;122:1294–1307.

Tam, C. C. et al. Phacoemulsifcation versus combined phacotrabeculectomy in medically controlled chronic angle-closure glaucoma with cataract. Ophthalmology 2008;115:2167–2173.

Brown, R. H. et al. Reduced intraocular pressure afer cataract surgery in patients with narrow angles and chronic angle-closure glaucoma. J Cataract Refract Surg 2014;40:1610–1614.

Kim, K. N., Jeoung, J. W., Park, K. H., Lee, D. S. & Kim, D. M. Efect of lateral decubitus position on intraocular pressure in glaucoma patients with asymmetric visual feld loss. Ophthalmology 2013;120:731–735.

Kim, K. N., Jeoung, J. W., Park, K. H., Lee, D. S. & Kim, D. M. Efect of lateral decubitus position on intraocular pressure in glaucoma patients with asymmetric visual feld loss. Ophthalmology 2013;120:731–735.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-08-2023