ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อความสำเร็จ ในการดำรงบทบาทมารดาของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก
คำสำคัญ:
หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น, ความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดา, การรับรู้ความสามารถของตนเองบทคัดย่อ
บทนำ: การตั้งครรภ์ของหญิงวัยรุ่นเป็นภาวะวิกฤตต่อบทบาทการเป็นมารดาทั้งด้านร่างกายและจิตใจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดาตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก
วิธีการศึกษา: งานวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง เลือกหญิงตั้งครรภ์แบบเจาะจง คือหญิงตั้งครรภ์อายุไม่เกิน 19 ปี ครรภ์แรกขนาดของกลุ่มตัวอย่างใช้สูตรของโคเฮน (Cohen, 1988) จำนวน 50 ราย ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองที่พัฒนามาจากแนวคิดทฤษฎีของแบนดูรา โดยใช้ทักษะตั้งใจ การเก็บจำ การกระทำและแรงจูงใจ จำนวน4ครั้ง ครั้งละ 30 นาที เครื่องมือที่ใช้ได้แก่แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล เช่น อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส/อยู่ร่วมกันกับสามี ความพร้อมในการตั้งครรภ์ ประสบการณ์การเลี้ยงดูเด็กอ่อน และแบบสอบถามความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดาของศรีสมร ภูมนสกุล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ t-test (Dependent t-test)
ผลการศึกษา: พบว่าหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นหลังเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง มีคะแนนความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดาที่อายุครรภ์ 38 สัปดาห์ และระยะ 72 ชั่วโมงหลังคลอดสูงกว่าก่อนเข้าโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05 และ p<0.001ตามลำดับ)
สรุปผลการศึกษา: โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองช่วยส่งเสริมความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดาของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก
References
กินรี ชัยสวรรค์, เยาวลักษณ์ เสรีเสถียร, และ ฉวีวรรณ อยู่สำราญ. (2554) ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดาวัยรุ่น. Journal of Nursing Science.29(4), 61-69.
กุลธิดา หัตถกิจพาณิชกุล, วรรณาพาหุวัฒนกร, เยาวลักษณ์ เสรีเสถียร, และดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2555). ผลของโปรแกรมการสอนร่วมกับการมีส่วนร่วมของสามีต่อการปรับตัวด้านบทบาทการเป็นมารดาของมารดาวัยรุ่นในระยะหลังคลอด. วารสารสภาการพยาบาล, 27(4), 84-95.
เกตย์สิริ ศรีวิไล. (2554) ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา.
จิราวรรณ พักน้อย, นิสากร กรุงไกรเพชร และพรนภา หอมสินธุ์. (2560). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างทักษะชีวิตต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และความคาดหวังในผลลัพธ์ของการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 35(3), 58-68.
ฉันทนา ไตรบุญ, วันสุรีย์ พรหมภัทร, วรลักษณ์ คีรินทร์นนท์. (2555). การป้องกันการตั้งครรภ์ของสตรีอายุต่ำกว่า 20 ปี ที่มาฝากครรภ์ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดพังงา, วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. นครศรีธรรมราช.
ธัญญารัตน์ จิวสิทธิประไพ, มยุรี นิรัตธราดร และ คมสันติ์ สุวรรณฤกษ์. (2558). ผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการรับประทานยาคุมกำเนิดในมารดาวัยรุ่น. จดหมายเหตุทางแพทย์ แพทยสมาคมสมาคมแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์, 98(5), 444-450.
นุชนาถ สะคะมณี. (2541). ผลการใช้โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อความสามารถในการดำรงบทบาทมารดาครั้งแรกของมารดาหลังคลอด. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลศึกษา) คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ผกาทิพย์ สิงห์คำ (2545) ผลของการให้คำแนะนำโดยใช้ สื่อวีดิทัศน์ต่อความสามารถในการตอบสนองพฤติกรรมทารกของมารดภายหลังคลอดครรภ์แรก (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต , บัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พิกุล อุทธิยา. 2557. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนที่บ้านต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก. ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลุบรี.
มนต์ตรา พันธุฟัก. (2551) ผลของโปรแกรมการส่งเสริมบทบาทการเป็นมารดา ต่อความรักใคร่ผูกพันระหว่างมารดากับทารก ความพึงพอใจในบทบาทของมารด ความสามารถในการเรียนรู้พฤติกรรมทารก และการเจริญเติบโตของทารก. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลมารดาและทารกแรกเกิด). บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยมหิดล.
ฤดี ปุงบางกะดี่, และ เอมพร รตินธร. (2557). ปัจจัยและผลกระทบจากกการตั้งครรภ์ซ้ำของสตรีวัยรุ่นไทย:กรณีศึกษาในกรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(2), 23-31.
วิชชุลดา พุทธิศาวงศ์, โสเพ็ญ ชูนวล, และ ศศิกานต์ กาละ. (2560). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองร่วมกับการสนับสนุนจากสามีต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 9(3), 12-24.
ศิริพร จิรวัฒน์กุล, สมพร รุ่งเรืองกลกิจ, ดารุณี จงอุดมการณ์, กฤตยา แสวงเจริญ, สร้อย อนุสรณ์ธีรกุล, สมพร วัฒนนุกูลเกรียติ, โสมภัทร ศรไชย, และ สรวงสุดา เจริญวงศ์. (2554). การศึกษาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (แม่วัยใส). ศูนย์ประสานงานองค์การอนามัยโลกด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านเพศภาวะและสุขภาพ:มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศรีสมร ภูมนสกุล, อรพรรณ สมบูรณ์ทรัพย์, อุษา ศิริวัฒนโชค. (2547). การพัฒนาแบบวัดความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดา: ฉบับปรับปรุงและคุณสมบัติทางด้านการวัด. วารสารพยาบาลศาสตร์, 22(1): 28-38.
สุนิดา ชูแสง, (2547) ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถการเป็นมารดาต่อการปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่การเป็นมารดาของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาการพยาบาลมารดาและทารก). คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bandura,A., (1977). Self-efficacy: Toward a unifying theory of behavioral hange. Psychological Review.84(2), 191-215
Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action New Jersey. Prentice Hall.
Bobak,I.M.,&Jensen, M.D.(1987).Essential of Maternity Nursing: Nursing care of the childbearing
family. (2 ~'ed). St. Louis: The C.V. Mosby company.
Brouse, A.J. (1988). Easing the translation to the maternal role Journal of Advanced Nursing, 13,167-172
Cohen, S. M., Kenner, C. A,,& Hollings, A. O. (1991). Maternal neonatal and women's health nursing.Pennsylvania: Springhouse Corporation.
Cohen, J. (1988). Statistical Power Analysis for the Behavioral Sciences. (2nded). New Jersey: Lawrence Erlbanm Associates.
Conde-Agudelo A, Belizan JM, &Lammers C. (2005.Maternal-perinatal morbidity.
mortality associated with adolescent pregnancy in Laatin America: Cross-sectional study. Am J ObstetGynecol, 192(2), 342-349.
Cram - Elsberry, C. &Mally - Corrinet, A. (1986). The adolescent parent. In S.H. Johnson (Ed.)
Nursing assessment and strategies for the family at risk: Parenting. (2'd ed). Philadelphia:J.B.Lippincott Comp.
Green,C.J., & Wilkinson, J.M. (2004). Maternal newborn nursing care plans. St. Louis: The C.V.Mosbycompany.
Griffin, K. F. 1993. Maternal role attainment. IMAGE: Journal of Nursing Scholarship23(3): 257-262.
Khashan AS, Baker PN, & Kenny LC. (2010). Preterm birth and reduced birthweight in first and second teenage pregnancies: a register-based cohort study. BMC Pregnancy Childbirth.9(10), 36.
Lemaster, E. E., (1987). Parenthooh as crisis. Journal of Marriage and Family, 19, 352-355.
Mahavarkar SH, Madhu, C.K. & Mule, V.D. (2008), Acompaprtive study of teenage pregnancy. America Journal of Obstetrics & Gynecology, 28(6), 604-607.
Mercer, R.T. (198). The process of maternal role attainment over the first year. Nursing Research,34(4), 198-204.
Mercer, R.T. (1986). Predictors of maternal role attaintment at one year post - birth. Western Journal of Nursing Research, 8(1), 9-32.
Mercer, R.T. (200). Maternal role attainment - Becoming a mothers. In Tomy, A. M., &Alligood,M. R. (Eds.), Nursing theorists and their work. St. Louise Missouri: Mosby Elsevier
Mercer, R.T. & Walker, L. O. (2006). A review of nursing interventions to foster becoming a mother.JOGNN, 35(5), 568-581.
Nuwayhid, K. A. 1991. Role transition, distance and conflict. In S. C. Roy and H. A.Andrews (eds.), The Roy model: The definitive statement, pp 363-376. Norwalk:Appleton & Lange.
Richardson, P. (1981). Women's perceptions of their important dyadeic relationships during pregnancy. Maternal - Child Nursing Journal, 10, 159-174.
Rubin, R. (1967). Attainment of the maternal role. Part 11: Models and referents. Nursing Research,16, 324-346.
Sander, L. W., & Buckner, E. B. (2006). The newborn behavioral observations system as a nursing intervention to enhance engagement in first time mothers: feasibility and desirability. Pediatric Nursing, 32(5), 455-459
Shaw, H. S. W. (1986). Telephone audiotape for parenting education: Do they really help? MCN,The American Journal of Maternal/Child Nursing, 11, 108-111
Tedder, J. L. (2008). Give then the HUG: An innovative approach to helping parentsunderstandthe language their newborn. The Journal of Parinatal Education,35(2),68-71
World Health Organization. (2012). Adolescent pregnant: Issues in adolescent health anddevelopment. Geneva:The Organization.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 โรงพยาบาลสิงห์บุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลสิงห์บุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลสิงห์บุรี และบุคคลากรท่านอื่นๆในโรงพยาบาลฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว