การพัฒนาระบบฐานข้อมูลความเสี่ยงทางสุขภาพ ของบุคลากรในโรงพยาบาลสิงห์บุรี
คำสำคัญ:
ความเสี่ยงทางสุขภาพ, การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพ, ระบบฐานข้อมูลบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาระบบฐานข้อมูลความเสี่ยงทางสุขภาพของบุคลากรโรงพยาบาลสิงห์บุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ กลุ่มผู้ใช้งานระบบฐานข้อมูลความเสี่ยงทางสุขภาพ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามและระบบฐานข้อมูลความเสี่ยงทางสุขภาพของบุคลากรโรงพยาบาลสิงห์บุรี วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติอย่างง่าย คือ ร้อยละค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการประเมินความพึงพอใจมี 2 ส่วน ด้านรูปแบบการใช้งานของระบบ และด้านความสมบูรณ์ของข้อมูลโดยรวม อยู่ในระดับดี
References
กรณีศึกษาอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์. (สารนิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิศวกรรม
การจัดการอุตสาหกรรม. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ). 2554.
2. กลุ่มศูนย์การแพทย์เฉพาะทางด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม.คู่มืออาชีวอนามัยสำหรับพยาบาล.:โรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.ม.ป.ป.
3. กรมควบคุมโรค สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม.คู่มือการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล. (พิมพ์ครั้งที่ 3).กรุงเทพฯ2554. : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.ฉบับปรับปรุงแก้ไข พ.ศ.2554.
4. กรมควบคุมโรค สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม.คู่มือการประเมินการดำเนินงการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.(พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ. : ศูนย์สื่อและสิ่งพิม์แก้วเจ้าจอม มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.2560.
5. จักรี ทำมา,วรปภา อารีราษฎร์ และธวัช อารีราษฎร์. (2561). การพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานวิจัยและนักวิจัย. : คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. (รายงานการวิจัยบุคลากร)
6. จุไรวรรณ ศิริรัตน์ และภูษณิศา ฉลาดเลิศ. ระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพแลสิ่งแวดล้อมสมุทรปราการ : ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยและสิ่งสิ่งแวดล้อม. 2558.
7. . ดาราวรรณ ญาณะนันท์. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลท่องเที่ยวออนไลน์ ในอําเภอสวนผึ้ง จังหวัด
ราชบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.: ซีเอตยูเตชัน.2553.
8. เนสินี ไชยเอีย.(2548).คู่มือการอบนมเชิงปฏิบัติการการบริหารจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาลเพื่อรับรองคุณภาพรุ่น 5.ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา.
9. ภิญญาพัชญ์ มีมากบาง.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสิ้นค้าคงคลัง กรณีศึกษาร้านริก้าแคว.
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ). 2555.
10. ฝ่ายความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมบริษัทปิโตรเคมีแห่งชาติ จำกัด(มหาชน).(2547).เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรการจัดทำระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยมอก.18001และเอกสารการประเมินความเสี่ยง มอก.18004.(ปรับปรุงครั้งที่ 1): สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
11. สาวิตรี วงษ์นุ่น. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลของที่ระลึก. กรณีศึกษา คณะมนุษยสาสตร์และสังคมศาสตร์.วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, (2558). 11(2)129-144 (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/eJHUSO/article/vew/82640 (28 กุมภาพันธ์ 2564)
12. สุภาพร วชิรเมธารัชต์ และรัตพงษ์ สอนสุภาพ. การจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลร้อยเอ็ด. การประชุมวิชาการระดับชาติ: มหาวิทยาลัยรังสิต.2559.
13. สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม.คู่มือการตรวจประเมินการดำเนินงานการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.(ฉบับปรับปรุงแก้ไข) : สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.2563.
14. สุรเชษฐ์ มหามนต์ และอรรถ เก่งพล.(2560).การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการข้อมูลเพื่อการจัดเก็บวัสดุคงคลังหน่วยงานวิศวกรรมซ่อมบำรุงกรณีศึกษาโรงงานผลิตตัดเหล็กม้วน.วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 28(3 3 ก.ค.-ก.ย.2561),547-555 สืบค้นจากhttp://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/kjournal/article/view/1163
15. อดุลย์ บัณฑุกุลและธิดา โอมาศ. (ม.ป.ป.). การค้นหาและการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ. ใน คู่มืออาชีวอนามัยสำหรับพยาบาล : กลุ่มศูนย์การแพทย์เฉาะทางด้านอาชีวเวชสาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อมโรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.
15. อาภรณ์ นิยมทรัพย์ และวรรณา จงจิตรไพศาล.(ม.ป.ป). อาชีวอนามัย : หลักการสู่การปฏิบัติ ใน คู่มืออาชีวอนามัยสำหรับพยาบาล.กลุ่มศูนย์การแพทย์เฉาะทางด้านอาชีวเวชสาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลสิงห์บุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลสิงห์บุรี และบุคคลากรท่านอื่นๆในโรงพยาบาลฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว