การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวร่วมกับโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิดเอสทีไม่ยกสูง: กรณีศึกษา
คำสำคัญ:
การพยาบาล, ภาวะหัวใจล้มเหลว, โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดเอสทีไม่ยกสูงบทคัดย่อ
กรณีศึกษาชายไทย อายุ 48 ปี เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรม ส่งต่อจากโรงพยาบาลชุมชน ด้วยอาการ หายใจเหนื่อย เจ็บแน่นหน้าอก 4 ชั่วโมง แพทย์วินิจฉัยโรค Congestive heart failure with NSTEMI ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบ ST segment elevate ใน Lead V2-V4 ได้รับยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือด, ได้รับ ASA (81 mg) 4 tabs เคี้ยวแล้วกลืน, ได้รับ Clopidogrel (75 mg) 4 tabs ให้ออกซิเจน Cannula 5 ลิตรต่อนาที และได้รับยา Enoxaparin 0.6 ml sc จากนั้น 1 วันปัสสาวะออกน้อยลง ค่าอัตราการกรองของไตลดลง หายใจเหนื่อยมากขึ้น ความอิ่มตัวออกซิเจนปลายนิ้ว 88% ใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ และได้รับยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือด 1 วันต่อมาสามารถถอดท่อช่วยหายใจได้ จึงจำหน่ายผู้ป่วย โดยนอนโรงพยาบาลเป็นระยะเวลา 5 วัน จึงประสานส่งกลับโรงพยาบาลชุมชนเพื่อเตรียมไปโรงพยาบาลแม่ข่ายทำการถ่างขยายหลอดเลือดหัวใจ
ดังนั้นบทบาทของพยาบาลจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้และทักษะในการดูแลให้การพยาบาลในภาวะวิกฤติเพื่อติดตามประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ และการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยอย่างเหมาะสม โดยการพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว มีเป้าหมายเพื่อลดอัตราการเสียชีวิตและลดการกลับเข้ารักษาซ้ำในโรงพยาบาล
References
Carol Mattson P and Glenn M. Pathology. 3th ed. Philadelphia: wolters klumer, 2007.
Adams Jr KF, Fonarow GC, Emerman CL, et al. ADHERE Scientfic Advisory Committee and investigator. Characteristics and outcome of patient hospitalized for heart failure in United States; rational design and preliminary from the first 100,000 case in the acute decompensation heart failure national tegistry (ADHERE). JAHA 2006;149: 209-16.
Clare JT, Ryan R, Nichols L, Gale N, Hobbs R, Marshall T. Survival following a diagnosis of heart failure in primary care. PCFM 2017; 34:161-68.
Cowie MR, Wood DA, Coats AJ, Thompson SG, Suresh V, Poole-Wilson PA. Sutton GC. Survival of patients with a new diagnosis of heart failure. NCBI 2014; 83:505-10.
Waldreus N, Hahn RG, and Jaarsma T. Thirst in heart failure: a systematic literature review. EJHF 2013;10:141-49.
Clyde, WY.,et al. (2017). 2017 ACC /AHA/HFSA Focudate of the 2013 ACCF/AHA Guideline for the Management of Heart failure. JACC 2017;70: 776-803.
เกรียง ไกรเฮงรัศมี. มาตรฐานการรักษาผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว. นนทบุรี: บริษัทสุขุมวิทการพิมพ์; 2560.
งานเวชระเบียน โรงพยาบาลสิงห์บุรี. “รายงานสถิติประจำปี2560-2562.” เอกสารอัดสำเนา.
สำนักงานสถิติจังหวัดสิงห์บุรี. ข้อมูลสถิติและสารสนเทศเพื่อการบริหารระดับพื้นที่จังหวัดสิงห์บุรี. [เข้าถึงเมื่อ 8เมษายน 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://www.singburi.nso.th.
เกรียง ไกรเฮงรัศมี. มาตรฐานการรักษาผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน. นนทบุรี: บริษัทสุขุมวิทการพิมพ์; 2560.
Downloads
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลสิงห์บุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลสิงห์บุรี และบุคคลากรท่านอื่นๆในโรงพยาบาลฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว