การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 3 อ

ผู้แต่ง

  • นวรัตน์ ไวชมภู มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
  • รัตติภรณ์ บุญทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
  • นภชา สิงห์วีรธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก

คำสำคัญ:

การส่งเสริมสุขภาพ, ผู้สูงอายุ, หลัก 3 อ

บทคัดย่อ

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์แบบ ซึ่งวัยสูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ โดยส่วนใหญ่เป็นการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมถอยตามอายุแม้ว่าจะไม่มีโรคประจำตัวต่าง ๆ ดังนั้นเพื่อเป็นการรองรับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์แบบที่กำลังจะมาถึง การส่งเสริมสุขภาพให้ครอบคลุมด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณเพื่อชะลอการเสื่อมถอยนั้นจึงเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้สูงอายุในการตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณของผู้สูงอายุ บทความนี้พิจารณาการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 3 อ ประกอบด้วย อ: อาหาร อ: ออกกำลังกาย และ อ: อารมณ์ เพื่อเป็นแนวทางการสร้างสุขภาพโดยประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอแนวทางการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 3 อ เนื้อหาประกอบด้วย 1) แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพ และ 2) แนวทางการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 3 อ ที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อใช้เป็นแนวทางการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 3 อ อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพต่อไป

?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=LOADED&custom1=www.tci-thaijo.org&custom2=%2Findex.php%2Fscnet%2Fworkflow%2Findex%2F177081%2F5&t=1556679690806?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=BEFORE_OPTOUT_REQ&t=1556679690806?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=FINISHED&custom1=www.tci-thaijo.org&t=1556679690807

?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=LOADED&custom1=www.tci-thaijo.org&custom2=%2Findex.php%2Fscnet%2Fworkflow%2Findex%2F177081%2F5&t=1556679715272?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=BEFORE_OPTOUT_REQ&t=1556679715273?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=FINISHED&custom1=www.tci-thaijo.org&t=1556679715274

Author Biographies

นวรัตน์ ไวชมภู, มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

 

?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=LOADED&custom1=www.tci-thaijo.org&custom2=%2Findex.php%2Fscnet%2Fworkflow%2Findex%2F177081%2F4&t=1556679160919?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=BEFORE_OPTOUT_REQ&t=1556679160919?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=FINISHED&custom1=www.tci-thaijo.org&t=1556679160920

รัตติภรณ์ บุญทัศน์, มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

 

?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=LOADED&custom1=www.tci-thaijo.org&custom2=%2Findex.php%2Fscnet%2Fworkflow%2Findex%2F177081%2F4&t=1556679187114?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=BEFORE_OPTOUT_REQ&t=1556679187115?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=FINISHED&custom1=www.tci-thaijo.org&t=1556679187116

นภชา สิงห์วีรธรรม, วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก

 

?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=LOADED&custom1=www.tci-thaijo.org&custom2=%2Findex.php%2Fscnet%2Fworkflow%2Findex%2F177081%2F4&t=1556679290418?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=BEFORE_OPTOUT_REQ&t=1556679290419?mid=&wid=51675&sid=&tid=8383&rid=FINISHED&custom1=www.tci-thaijo.org&t=1556679290420

References

Boonphadung, S. (2011). Developing the Life Quality of the Elderly by Applying Sufficiency Economy- Based Schooling (Phase I). Suan Sunandha Rajabhat University. (in Thai)

Choichu, N., Pinyophasakun, W., & Charoenkijakan, W. (2014). Relationships among Age, Perceivedbenefits of Health Behaviors, Perceived Barriers of Health Behaviors and Health Behaviors in Patients with Ischemic Stroke. Rama Nurse Journal, 20(2), 236-248. (in Thai)

Elderly Health Department, Department of Health. (2017). Elderly Health Book. Bangkok: Kaew Chao Chom Publishing Center Suan Sunandha Rajabhat University. (in Thai)

Ho, M. Y., Cheung, F. M., & Cheung, S. F. (2010). The role of Meaning in Life and Optimism in Promoting Well-Being. Personality and Individual Differences, 48, 658-663.

Lillahkul, N. (2018). Way of life of Muslim People in Thailand, s Southern Province, and Health Promoting Life style. The Southern College Network Journal of Nursing and Health, 5(2), 302-312. (in Thai)

National Board of the Elderly. (2015). Situation of the Thai Elderly 2016. Bangkok: Foundation for Thai Elderly Research and Development Institute. (in Thai)

Orem, D. (1985). Nursing Concepts of Practice. (3rd ed.). New York: Mcgraw-Hill.

Ounpornmanee, S. (2013). World Health Organization. Bangkok: Tanapress. (in Thai)

Pender, N. J. (1996). Health Promotion in Nursing Pratice (2nd ed.). Stamford, Appleton and Lange.

Pender, N. J., Murdaugh. C. L., & Parsons, M. A. (2011). Health Promotion in Nursing Practice. (4rd ed.). USA: Appleton & Lange.

Santawaja, C. (2011). Basic Concepts Nursing Theory and Process. Nonthaburi: Academic Welfare Program Praboromarajchanok Institute. (in Thai)

Stretcher, V., & Rosenstock, I. M. (1997). The Health Belief Model. In Health Behavior and Health Education: Theory, Research and Practice. San Francisco: Jossey Bass.

Thai Health Promotion Foundation. (2013). Food and Drug Administration Strategic Framework for Food Management Thailand. (2nd edition). Bangkok: Print Support. (in Thai)

Thongcharoen, W. (2015). Science and Art Nursing of Elderly. Bangkok: NPS. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-05-01