การดูแลเฝ้าระวังความเครียดในวัยรุ่น
คำสำคัญ:
ดูแลเฝ้าระวัง, ความเครียด, วัยรุ่นบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอการดูแลเฝ้าระวังความเครียดในวัยรุ่น สืบเนื่องจากวัยรุ่น เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านจากวัยเด็กสู่วัยผู้ใหญ่ ในช่วงเวลานี้ วัยรุ่นจะมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย ทางอารมณ์ สติปัญญาและสังคมมากมาย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกายและทางจิตใจตลอดจนสังคมที่เกิดขึ้นในวัยรุ่นนั้นทำให้ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงที่มีความสำคัญแตกต่างจากช่วงเวลาอื่น ๆ ของชีวิต ซึ่งอาจมีผลต่อความเครียดในชีวิตของวัยรุ่นแต่ละคน การดูแลเฝ้าระวังความเครียดในวัยรุ่นด้วยการคัดกรองความเครียด การช่วยเหลือวัยรุ่นในการจัดการกับความเครียด การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการดูแลความเครียดของวัยรุ่น การมีระบบดูแลเฝ้าระวังความเครียดที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงการใช้เครื่องมือคัดกรองและประเมินปัญหาความเครียดในวัยรุ่น จะช่วยลดการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นจากความเครียดได้ รวมถึงเป็นการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตที่อาจจะเกิดขึ้นตามมาได้ในอนาคต และยังเป็นการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันจากความเครียดให้กับวัยรุ่น เพื่อเติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคตต่อไป
References
Department of Mental Health. (2017). Stress and Suicide Report. Retrieved November 16, 2017, from http://www.dmh.go.th/report/suicide/age.asp October 9, 2017
Hiba, Z., & InnaGaisler, S. (2015). Prereproductive Stress in Adolescent Female Rats Affects Behavior and Corticosterone Levels in Second-Generation Offspring. Psychoneuroendocrinology, (58), 120-129.
Holmes, T. H., & Rahe, R. H. (1967). The Social Readjustment Rating Scale. Journal of Psychosomatic Research, 11, 213-218.
Khrobsorn, C., & Chaimongkol, N. (2013). Stress and Coping Behaviors among Adolescents in the Observation and Protection Center. Graduate School Burapha University. (in Thai)
Klinmalee, M. (2011). Students with Problems of Stress. Journal of Vocational and Technical Education, 1(1), 64-75. (in Thai)
Lotrakul, M., & Sukanich, P. (2015). Ramathibodi Essential Psychiatry. (Fourth Edition). Department of Psychiatry Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. (in Thai)
Mahakittikun, K., Suwanchinda, P., & Chanchong, W. (2016). Adolescent Students’ Happiness. Songklanagarind Journal of Nursing, 36(1), 87-98. (in Thai)
National Statistic Office. (2015). ANNUAL REPORT 2015. Bangkok: Banhkok Block Ltd. (in Thai)
Photawon, P., Pensuwan, A., & Wongpradis, S. (2014). Breathing Meditation Program and Stress Level of Nursing Students in Labor Room Practicum. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health, 1(2), 49-59. (in Thai)
Ronald, G. N., Thomas, E. S., & Paul, J. R. (1987). The Doctors' Guide to Instant Stress Relief: A Psychological and Medical System. Retrieved November 16, 2017, from https://www.goodreads.com/book/show/3144838-the-doctor-s-guide-to-instant-stress-relief October 9, 2017
Sari, L., Emily, A., Jeffrey, T., & Michele L. (2015). Gender Minority Social Stress in Adolescence: Disparities in Adolescent Bullying and Substance Use by Gender Identity. The Journal of Sex Research, 52(3), 243-256.
Sathrapanya, C., & Hhempan, W. (2013). Stress among Students in University. Journal of Liberal Arts Maejo University, 1(1), 42-58. (in Thai)
Sirirutraykha, T. (2017). Screening of Mental Health for School-Age Children. Bangkok: Beyond Publishing. (in Thai)
Srisatidnarakul, B. (2012). Development and Validation of Research Instruments: Psychometric Properties. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai)
Tantipiwattanasakul, P. (2016). Teen Manager. Bangkok: Beyond Publishing CO., LTD. (in Thai)
Vatanasin, D. (2016). Prevention of Adolescent Depression: From Evidence to Practice. The Journal of Faculty of Nursing Burapha University, 24(1), 1-12. (in Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
1. บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารเครือข่าย วิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ ที่เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน บรรณาธิการหรือเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและวิทยาลัยการสาธารณสุขภาคใต้ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
2. บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้