การทบทวนงานวิจัยด้านสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพ: บทเรียนจากบทความวิจัยต้นฉบับและวิทยานิพนธ์ระหว่างปี พ.ศ. 2554 – 2560

Main Article Content

สุวรรณา มูเก็ม
ศรัณญา เบญจกุล

บทคัดย่อ

     การวิจัยเอกสารครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนงานวิจัยด้านสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพผ่านบทความวิจัยต้นฉบับและวิทยานิพนธ์ที่เผยแพร่ระหว่างปี พ.ศ. 2554 – 2560 ดำเนินการวิจัยโดยการสืบค้นเอกสารตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวนทั้งสิ้น 76 เรื่อง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาได้แก่ การแจกแจงความถี่ และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ร้อยละ 61.8 ของเอกสารที่ได้รับการสืบค้นเป็นผลงานวิทยานิพนธ์ที่ตีพิมพ์เป็นบทความวิจัยในวารสารในฐานข้อมูล TCI เมื่อวิเคราะห์การประยุกต์ใช้แนวคิด/ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์ พบว่า (1) ในงานวิจัย 1 เรื่อง มีการประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์มากกว่า 1 แนวคิดและทฤษฎี (2) งานวิจัยส่วนใหญ่ประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีระดับบุคคลโดยพบการประยุกต์ใช้สูงสุด คือ ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเอง และ (3) ผลของงานวิจัยซึ่งประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์ในการออกแบบกิจกรรมหรือโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนี้ ส่วนใหญ่นำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพโดยเฉพาะปัญหาสุขภาพที่มาจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ดังนั้น ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยด้านสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพในอนาคต จึงควรให้ความสำคัญในการเพิ่มประเด็นการประเมินผลกิจกรรมในแง่ประสิทธิผลและความคุ้มค่า การประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีระดับชุมชน และการวิจัยด้านนวัตกรรมและสื่อดิจิทัลเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา [อินเทอร์เน็ต]. ชลบุรี: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา; c2561 [เข้าถึงเมื่อ 23 ธันวาคม 2563] เข้าถึงได้จาก: http://www.phbuu.com/course.php?page=diploma

ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; c2561 [เข้าถึงเมื่อ 23 ธันวาคม2563]. เข้าถึงได้จาก: https://phhe.ph.mahidol.ac.th/program/M.Sc.%20(Public%20Health)_extra.html

กรวิกา แผ้วพลสง. พฤติกรรมของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยโรคเรื้อรังอายุต่ำกว่า 5 ปี. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2554.

กนกวรรณ อุดมพิทยารัชต์. โปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University 2557;7(1):30-43.

กาญจนา เพ็งเหล็ง, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, สุปรียา ตันสกุล. ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองและการสนับสนุนทางสังคมในพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม. วารสารสุขศึกษา 2556;36(1):37-50.

กิติศักดิ์ รุจิกาญจนรัตน์. การประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557.

กษณี สุขพิมาย. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายของกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนลงพุง. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

จงมณี สุริยะ. โปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ทฤษฏีการรับรู้ความสามารถตนเองเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์].กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556.

จรรยา สงวนนาม. ประสิทธิ์ลีระพันธ์, นิรัตน์ อิมามี,ธราดลเก่งการพานิช. พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอดของชาวไทยมุสลิม จังหวัดพังงา. วารสารสุขศึกษา 2555; 35(122):30-42.

จริยา พลเหี้ยมหาญ. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง ในอำเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

จิตตานันทร์ พงศ์วรินทร์. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของพนักงานโรงงานยาสูบ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

จุฑามาศ จันทร์ฉาย, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี. โปรแกรมการเรียนรู้เรื่องเบาหวานและการ จัดการตนเองของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารสาธารณสุข มหาวิทยาลัยบูรพา 2557;7(2):69-83.

ฉวีวรรณ เพ็งรักษา, ธราดล เก่งการพานิช, มณฑา เก่งการพานิช, ศรัณญา เบญจกุล. ผลของภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ต่อความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. Veridian E-Journal Science and Technology Silpakorn University 2558;2(1):1-12.

ซูไมยะ เด็งสาแม, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, สุปรียา ตันสกุล, นิรัตน์ อิมามี. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการของผู้นำศาสนาอิสลาม จังหวัดยะลา. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2558;45(1): 18-27.

ณัฐธิดา ปัญจะโรทัย. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดนครนายก. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์].กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

ณัฐภรณ์ เวชวิศิษฏ์, ภรณี วัฒนสมบูรณ์, ลักขณา เติมศิริกุลชัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30–60 ปี โดยแกนนำสตรีในเขตตำบลบางพลับ อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา 2555;10(2):27-40.

ณัฐสุภรณ์ โพธิ์โลหะกุล, ลักขณา เติมศิริกุลชัย, ธราดล เก่งการพานิช, พิมพ์สุภาว์ จันทนะโสตถิ์. การประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองในการออกกำลังกายด้วยโยคะของนักศึกษาหญิงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี.วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2555; 42(2):29-43.

ทวีศักดิ์ คำกลึง, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของผู้ที่มีอาการเมตาบอลิก ซินโดรม จังหวัดอุทัยธานี. วารสารพยาบาลสาธารณสุข2556;27(3):27-40.

ทัศนพรรณ เวชศาสตร์, มณฑา เก่งการพานิช, ศรัณญา เบญจกุล, ธราดล เก่งการพานิช , กรกนก ลัธธนันท์. โปรแกรมส่งเสริมการบริโภคผักและผลไม้โดยการประยุกต์ทฤษฎีปัญญา สังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2557;37(4):75-91.

ธราดล เก่งการพานิช, ประสิทธิ์ลีระพันธ์, มณฑา เก่งการพานิช, กาญจนา นันทะเสน, กรกนก ลัธธนันท์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการกินสมุนไพรเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2558;31(1):13-25.

ธวัชชัย เอกสันติ. การประยุกต์ทักษะชีวิตร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อปรับพฤติกรรมการเล่มเกมออนไลน์ของวัยรุ่น. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์].กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2554.

ธันวา หอมจันทร์, ภรณี วัฒนสมบูรณ์, ลักขณา เติมศิริกุลชัย. พฤติกรรมการป้องกันมะเร็งปากมดลูกของพนักงานบริการในบาร์เบียร์ เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. วารสารสุขศึกษา 2556;36 (124):1-16.

ธิติมา พรสรายุทธ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการบังคับใช้กฎหมายควบคุมยาสูบของพนักงานเจ้าหน้าที่. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2558.

ธีระวุธ ธรรมกุล. การประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันฟันน้ำนมผุของเด็กก่อนวัยเรียนโดยผู้ปกครอง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2554.

นคพล บุญโสดากร. การสื่อสารสุขภาพแบบมีส่วนร่วมเพื่อควบคุมลูกน้ำยุงลายในชุมชนโดยแกนนำนักเรียนในชุมชนเซ็ม ตำบลเมืองที อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์].กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2554.

นงลักษณ์ แก้วทอง, ลักขณา เติมศิริกุลชัย, ประสิทธิ์ ลีระพันธ์, ธราดล เก่งการพานิช, ขวัญเมือง แก้วดำเกิง. ความแตกฉานด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองหอย จังหวัดสระแก้ว.วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2557;30(1):45-56.

นวพร ศิริสม, ประสิทธิ์ ลีระพันธ์, ธราดล เก่งการพานิช, มณฑา เก่งการพานิช. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับ พฤติกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของข้าราชสำนักที่ปฏิบัติงานภายในเขตสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2557;30(1):34-44.

นัยนา ยอดระบำ. โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมการถวายอาหารสุขภาพแด่พระสงฆ์ของประชาชนอำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

เนตรระวี เพ็ชร์รัตน์. การตรวจสุขภาพประจำปีของโรงพยาบาลเอกชนกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

บุญนภา บุญเรือน. ธราดล เก่งการพานิช, มณฑา เก่งการพานิช, ประสิทธิ์ ลีระพันธ์. การประยุกต์แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ในการส่งเสริมสุขภาพตาของผู้สูงอายุ. วารสารสุขศึกษา 2556;36(125):58-70.

บุญเรียง พิสมัย, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, สุภาพ อารีเอื้อ. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2555;42(2):54-67.

เบญจพร พุดชา, สุปรียา ตันสกุล, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, ปิยะธิดา ขจรชัยกุล.ผลของโปรแกรม "No Snacks" เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคขนมขบเคี้ยวในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5 จังหวัดแพร่. วารสารวิชาการโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป เขต 4 2557;16(2):142-148.

ประทุม สุภชัยพานิชพงศ์, ภรณี วัฒนสมบูรณ์, สุปรียา ตันสกุล. ผลของการบูรณาการกิจกรรมเรียนรู้การใช้ยาในการให้บริการรักษาผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลดำเนินสะดวก. Veridian E-Journal Science and Technology Silpakorn University 2557;1(1):1-12.

ปรัชพร กลีบประทุม, ศรัณญา เบญจกุล, มณฑา เก่งการพานิช, ธราดล เก่งการพานิช. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่สำหรับผู้สูบบุหรี่ในตำบลบางแก้ว อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง. วารสารวิชาการVeridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University 2559;3(4):30-43.

ปราณิศา กิ่งกังวาลย์, ประสิทธิ์ ลีระพันธ์, ธราดลเก่งการพานิช, ลักขณา เติมศิริกุลชัย. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อควบคุมน้ำหนักในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารสุขศึกษา 2556;36 (124):50-64.

ปรียานุช รุ่งเรือง, ภรณี วัฒนสมบูรณ์, ลักขณา เติมศิริกุลชัย. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรีกลุ่มเสี่ยงที่ไม่เคยตรวจคัดกรองในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา. Veridian E-Journal Science and Technology Silpakorn University 2558;2(2):36–49 .

ปุรินทร์ ศรีศศลักษณ์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลเครือข่ายภาคกลาง 2 สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2554.

พัชรียา สีห์จักร์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการจัดการตนเองเพื่อควบคุมความดันโลหิตของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์].กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

พิทยา สังข์แก้ว. ประสิทธิผลของโปรแกรมการเลิกสูบบุหรี่ของบุคลากรโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์].กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2558.

พิมลนาฏ ซื่อสัตย์. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของอาจารย์มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจังหวัดสุรินทร์. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

ภัทรานุช พิทักษา, สุปรียา ตันสกุล, ขวัญเมือง แก้วดำเกิง, ปิยะธิดา ขจรชัยกุล.ผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร. วารสารสุขศึกษา 2557;37 (126):66-81.

ภานิสา ระยา, ศรัณญา เบญจกุล, มณฑา เก่งการพานิช, ธราดล เก่งการพานิช, กรกนก ลัธธนันท์. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่ตามแบบจำลองขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชนในตำบลวังวน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2558;31(2):9-25.

เยาวลักษณ์ ครชาตรี. แรงสนับสนุนทางสังคม ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ศูนย์บริการสาธารณสุข 16 ลุมพินี กรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557.

รจเรข ธรรมกร่าง. ธราดล เก่งการพานิช, มณฑา เก่งการพานิช,ขวัญเมืองแก้วดำเกิง. การประยุกต์แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรีอายุ 30-60 ปีที่ไม่เคยตรวจคัดกรอง. Veridian E-Journal Science and Technology Silpakorn University 2557;1(5):19–29.

ริษา บุนนาค, ลักขณา เติมศิริกุลชัย, ภรณี วัฒนสมบูรณ์, อาภาพร เผ่าวัฒนา. ประสิทธิผลของโปรแกรมทักษะชีวิตในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครปฐม. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2556;43(1):80-93.

ฤทธิชัย พิมปา, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, สุปรียา ตันสกุล. พฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรของผู้ป่วยโรคเบาหวาน จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ2557;30(3):14-25.

ลักขณา เสาเวียง, ธราดล เก่งการพานิช, สุปรียา ตันสกุล, มณฑา เก่งการพานิช.โปรแกรมการดูแลช่องปากและการรับประทานอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับการฉายรังสีหรือได้รับการฉายรังสีร่วมกับเคมีบำบัด. วารสารโรคมะเร็ง 2559;36(1):7-19.

วชิราภรณ์ แสนสิงห์, ประสิทธิ์ลีระพันธ์, ธราดลเก่งการพานิช, ลักขณาเติมศิริกุลชัย.ผลของโปรแกรมการควบคุมการบริโภคอาหารของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6. วารสารสุขศึกษา 2556;36(124):76-88.

วรัญญา ไชยสาลี, ศรัณญา เบญจกุล, ธราดล เก่งการพานิช, มณฑา เก่งการพานิช. ผลฃองโปรแกรมส่งเสริมการเลิกบุหรี่ของผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติดในโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา จังหวัดสงขลา. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2560;47(2):164-176.

วันวิสาข์ บัวลอย, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, ภรณี วัฒนสมบูรณ์. ประสิทธิผลของโปรแกรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาเพื่อป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2557;20(1): 127-142.

วาสนา พุ่มจันทร์. โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์].กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

วิจิตรา บุญจิตร. การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ในการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จังหวัดสุพรรณบุรี. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557.

วิภา พนัสนาชี. โปรแกรมการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดสลายต้อกระจกและเปลี่ยนเลนส์แก้วตาเทียม. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์].กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556.

ศิริพร นิธิวัฒน์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556.

ศิริรัตน์ ภู่ศิริ. ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคผักและผลไม้ในเด็กวัยก่อนเรียนโดยการจัดประสบการณ์อาหารและแรงสนับสนุนจากครอบครัว. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556.

ศิริสุข วรรณศรี, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, เรวดี จงสุวัฒน์. พฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้ของนักเรียนประถมศึกษา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารสุขศึกษา 2556;36(124):46-60.

สมิทธิกร เย็นวัฒนา, ธราดล เก่งการพานิช, นิรัตน์ อิมามี,มณฑา เก่งการพานิช.โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารสุขศึกษา 2556;36(123):9-21.

สิรี สุวรรณ์ศิลป์, สุปรียา ตันสกุล, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, ปิยะธิดา ขจรชัยกุล. ผลของโปรแกรม VFRUITS-VVEGETABLES เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้ในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กรุงเทพมหานคร. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา 2557;9(2):57-48.

สุกาญจน์ อยู่คง. ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2. ใน: การประชุมวิชาการสุขศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 เรื่อง “บทบาทของประชาชนกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ”วันที่ 14–16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมจอมเทียน ปาล์มบีช โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. หน้า 272-285.

สุขฤทัย วิโรจน์ยุติ, มณฑา เก่งการพานิช, ธราดล เก่งการพานิช, สุปรียา ตันสกุล.การประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมในการฟื้นฟูสภาพหลังผ่าตัดกระดูกสะโพกหักของผู้ป่วยสูงอายุ. วารสารพยาบาลทหารบก 2557;15(2):187-194.

สุชาดา บูรณะสถาพร, มลินี สมภพเจริญ, ธราดล เก่งการพานิช, ทัศนีย์ รวิวรกุล.การประยุกต์แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการบาดเจ็บกล้ามเนื้อหลังจากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หน่วยโภชนาการในโรงพยาบาล. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2556;6(1):91-100.

สุทัศน์ พิภพสุทธิไพบูลย์, มณฑา เก่งการพานิช, ธราดล เก่งการพานิช, เบญจมาศ ช่วยชู. ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองสำหรับการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2560;47(2):200-211.

สุธีรา บุญแต้ม, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์,สุปรียา ตันสกุล, นิรัตน์ อิมามี.ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของผู้ที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารสุขศึกษา 2556;36 (124):65-80.

สุนารี ทะน๊ะเป็ก. โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่มวนเองของผู้หญิงอำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์].กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

สุนิสา จันทร์แสง, ภรณี วัฒนสมบูรณ์, ลักขณา เติมศิริกุลชัย, ณัฐกมล ชาญสาธิตพร. ความต่อเนื่องในการรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี. 2559;27(1):1-16.

สุพรรณี กาวีละ, มณฑา เก่งการพานิช, ธราดล เก่งการพานิช, ศรัณญา เบญจกุล. พฤติกรรมการออกกำลังกายของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม กรุงเทพมหานคร. วารสารสุขศึกษา 2556;36 (123):82-93.

สุพัชรินทร์ วัฒนกุล, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, สุปรียา ตันสกุล. โปรแกรมการเรียนรู้เพื่อการจัดการตนเองเรื่องอาหารและการออกกำลังกายของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดบุรีรัมย์.วารสารพยาบาลสาธารณสุข 2556;27 (1):16-30.

สุมาพร สุจำนงค์, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตลาดขวัญ จังหวัดนนทบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2556;29(2):20-30.

สุวภัทร คำโตนด, ธราดล เก่งการพานิช, มณฑา เก่งการพานิช, สุปรียา ตันสกุล.การประยุกต์ทฤษฎีความสามารถตนเองเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารและกิจกรรมทางกายของสตรีที่มีภาวะอ้วนลงพุง โรงพยาบาลสามโก้ จังหวัดอ่างทอง. วารสารสุขศึกษา 2556;36(124):30-44.

สุวิชา ชุ่มชื่น. โปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสิงห์บุรี. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

หทัยพร ชุ่มมณีกูล, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, ลักขณาเติมศิริกุลชัย, นิรัตน์อิมามี. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายแบบโยคะ เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2556;36(2):50-59.

อกนิษฐ์ ชาติกิจอนันต์, นฤมล เอื้อมณีกูล, พิมสุภาว์ จันทนะโสตถิ์, ทัศนีย์ รวิวรกุล. ผลของการประยุกต์กรอบแนวคิดนวัตกรรมการดูแลภาวะเรื้อรังของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน. วารสารพยาบาลสาธารณสุข 2557;28(3):112-128.

อนุชิต วรกา. ทักษะชีวิตกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดกาญจนบุรี. ใน: การประชุมวิชาการสุขศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 เรื่อง “บทบาทของประชาชนกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ”วันที่ 14–16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมจอมเทียน ปาล์มบีช โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. หน้า 65-81.

อนุศฎา นุราภักดิ์, มลินี สมภพเจริญ, ลักขณา เติมศิริกุลชัย, มณฑา เก่งการพานิช. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการปกป้องสิทธิของตนเองจากควันบุหรี่มือสองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2557; 30(2):37-47.

อรทัย ใจบุญ. การสร้างเสริมความแตกฉานด้านสุขภาพเรื่องฉลากโภชนาการแบบ GDF ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. ใน: การประชุมวิชาการสุขศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 เรื่อง “บทบาทของประชาชนกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ”วันที่ 14–16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมจอมเทียน ปาล์มบีช โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. หน้า 39-51.

อลงกรณ์ เปกาลี, ลักขณา เติมศิริกุลชัย, ภรณี วัฒนสมบูรณ์, ธราดล เก่งการพานิช. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 ของผู้ประกอบการร้านบริการอินเตอร์เน็ตและเกมส์ กรุงเทพมหานคร. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2556;43(1):30-41.

อัจฉรา รักกะเปา. พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรสายสนับสนุนในโรงพยาบาลศิริราช. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์].กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.

อิสรียา ณ น่าน, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, นิรัตน์ อิมามี, สุปรียา ตันสกุล. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเสพยาบ้าของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครสวรรค์. วารสารสุขศึกษา 2556;36 (125):28-41.