จาก “พฤฒพลัง” สู่ “พฤฒสุขภาวะ”

Main Article Content

ประภาเพ็ญ สุวรรณ
มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์

บทคัดย่อ

     ในช่วงที่องค์การสหประชาชาติได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (ค.ศ. 2000-2015) องค์การอนามัยโลกได้กำหนดกลยุทธ์ “พฤฒพลัง/การสูงวัยอย่างมีพลัง” (Active Ageing) จึงมีเป้าหมายเพื่อการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้เข้าถึงระบบสุขภาพ/สาธารณสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี ปลอดภัยและมีความมั่นคง และมีส่วนร่วมกับชุมชน หลังจากปี ค.ศ. 2015 และความเป็นอยู่ที่ดี (พ.ศ. 2558) องค์การสหประชาชาติ ได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก (The Global Goals for Sustainable Development) ในช่วง ค.ศ. 2015-2030 ซึ่งประกอบด้วย การพัฒนา 17 ประเด็น มีประเด็นหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพคือ “การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี” และองค์การอนามัยโลกได้เสนอกลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ คือ “การสูงวัยอย่างมีสุขภาวะ” (Healthy Ageing) ซึ่งโมเดลของ “การสูงวัยอย่างมีสุขภาวะ” ควรจะครอบคลุมแนวคิดของคำว่า “สุขภาวะ” ทั้ง 4 องค์ประกอบคือ สุขภาวะด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ อนึ่งควรจะได้มีการพัฒนา ศึกษา วิจัย เกี่ยวกับกลยุทธ์นี้ ให้มากขึ้นในประเทศไทย เพื่อให้ผู้สูงอายุไทยมีความสมบูรณ์ด้านสุขภาวะองค์รวมนี้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

World Health Organization. Toward a Decade of Healthy Ageing. Available from http://www.WHO/FWC/ALC/17.1 C WHO 2017. 1996

United Nation, The Sustainable Development Goals [Internet]. [cited 2020 December 1]. available from: https://www.un.org/sustainabledevelopment/

World Health Assembly. The Global strategy and action plan on ageing and health 2016–2020: towards a world in which everyone can live a long and healthy life. World Health Organization. https://apps.who.int/iris/handle/10665/252783 2016.

Gray R. (1996). Active Ageing Index in Thailand: Experience with statistical tools to measure demographic development. Asia-Pacific Workshop on Developing Tools to Measure Inclusive and Active Population Ageing, 28 June, 2019, MR-4, UNCC, Bangkok.

โครงการสุขภาพคนไทย. (2560). สุขภาพคนไทยกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. หน้า 78 -79.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิตอนเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. ดัชนีพฤฒพลังผู้สูงอายุไทย(Active Ageing Index of Thai Elderly) กรุงเทพฯ: บริษัทเทกซ์แอนด์เจอร์นอลพับลิเคชั่น จำกัด. 2560.

กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. มาตรการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติเรื่องสังคมผู้สูงอายุ 2560. [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 1 มกราคม 2564]. เข้าถึงจาก: http://www.dop.go.th

Rowe JW and Kahn RL. “Successful Ageing”. The Gerontologist 1988;37:433-441.

Linn MW et al. “A Social Dysfunction Rating Scale”. Journal of Psychiatric Research 1969;6:299-306.

Crowther MR, Parker MW, Achebaum WA, Larimore WL and Koenig HG. (2002). Rowe and khan’s Model of successful Ageing Revisited: Positive Spiritually- The Forgotten Factor. The Gerontologist 2002;42(5):613-620.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2551 [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 มกราคม 2564]. เข้าถึงจาก: http://www.thaigri.org

Ladda Thiamwong, McManus MS and Jom Suwanno. (2013). Development of Thai Healthy Ageing Model: A Ground theory Study, Journal of Advanced Nursing 2013;15(2):256-261.

World Health Organization. Ageing: Healthy ageing and functional ability. [Internet]. [cited 2020 December 1]. available from :https://www.int/ageing/ healthy-aeging/en/

วชิระ เพ็งจันทร์. เกาะติดสถาณการณ์ หลักการดูแลผู้สูงอายุ "ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย" [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 มกรามคม 2564]. เข้าถึงจาก: http://www.hfocus.org/content/2017/08/144433. 2560.

วชิระ เพ็งจันทร์. เกาะติดสถาณการณ์ หลักการดูแลผู้สูงอายุ "ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย" [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 1 มกราคม 2564]. เข้าถึงจาก: http://www.hfocus.org/content/2017/08/144433

Pilowsky I, Spence ND. Manual for the Illness Behaviour Questionnaire (IBQ) 2. Adelaide, South Australia: University of Adelaide; 1983.

Donald CA and Ware JEJ. The Measurement of Social Support”. Research in Community Mental Health 1984;4:325-370.

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. การวัดสถานะทางสุขภาพ : การสร้างมาตราส่วนประมาณค่าและแบบสอบถาม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักพิมพ์ภาพพิมพ์. 2037. หน้า 109-112

Fulford RC and StoneG. Touch of Life: The Healing Power of Natural Life Force. Pocket Books, New York. 1996.

มูลนิธิสดศรี -สฤษดิ์วงศ์. การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา บทสรุปสำหรับผู้บริหาร [อินเทอร์เน็ต]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ 1 มกราคม 2564]. เข้าถึงจาก: http://www.thaissf.org