Health Behaviors of Elderly in Muang District, Surat Thani Province พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Main Article Content
Abstract
Health behavior is one of the factors promoting the elderly to be healthy, live longer and have good quality of life. The purpose of this study was to investigate health behaviors of the elderly and to compare the differences between the personal data and the health behaviors of the elderly lived in Khun Thale Sub-District Municipality, Mueang District, Surat Thani Province. Subjects were 104 elderly people aged 60 years and over selected by a specific sampling method. Data was collected by using questionnaire, which has been checked for content validity by experts and check the reliability with Cronbach's alpha coefficient at 0.79. Data were analyzed by statistical percentage, mean, standard deviation and Kruskal-Wallis Test, Mann-Whitney U test. Results showed that most participants were female (60.58%) and had high level of health behaviors in terms of exercise and seeking treatment (mean values were 2.50±0.36 and 2.40±0.22, respectively). They had moderate level of health behavior in drug use, food consumption and stress management. Furthermore, the differences of gender, age and income were not relate to the difference in health behavior. Whrereas the differences in health behavior are related to the differences in marital status and educational level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กระทรวงสาธารณสุข. สถิติสาธารณสุขกองยุทธศาสตร์และแผนงาน. [อินเทอร์เน็ต]. 2563. [เข้าถึงเมื่อ 12 กรกฏาคม 2563]; เข้าถึงได้จาก: http://bps.moph.go.th/new_bps.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. รายงานสุขภาพคนไทย. [อินเทอร์เน็ต]. 2563. [เข้าถึงเมื่อ 28 มีนาคม 2563]; เข้าถึงได้จาก: https://www.thaihealth.or.th/Books.
สำนักงานเทศบาลตำบลขุนทะเล. รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุ. [อินเทอร์เน็ต]. 2563. [เข้าถึงเมื่อ 1 ตุลาคม 2563]; เข้าถึงได้จาก: http://www.khuntalae.go.th/networknews/detail/58516.
ธนายุส ธนธิติ และกนิษฐา จำรูญสวัสดิ์. การพัฒนาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุตำบลบางเตย อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 2558; 35(3): 57-71.
กรมกิจการผู้สูงอายุ. สถานการณ์ผู้สูงอายุ. [อินเทอร์เน็ต]. 2562. [เข้าถึงเมื่อ 10 ตุลาคม 2562]; เข้าถึงได้จาก: http://www.dop.go.th/main/knowledge_detail.php?id=0864d7d94b4118cfea1201016aefbf7a&type=34.
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. รายงานสุขภาพคนไทย. [อินเทอร์เน็ต]. 2562. [เข้าถึงเมื่อ 28 มีนาคม 2562]; เข้าถึงได้จาก: https://www.thaihealth.or.th/Books.
Krejcie, R.V., & Morgan, D.W. Determining sampling size for research activities. Educational and Psychological Measurement; 30(3) 607-610.1970.
จิระพรรณ สุปัญญา ศิริรัตน์ ศรีสุทธิ์พันธ์พร เบญจวรรณ กิจควรดี และวิรัลพัชร คงตระกูลพิทักษ์. ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ บ้านหนองไผ่ ต.หนองไผ่ อ.เมือง จ. อุดรธานี. วิทยาลัยพยาบาลราชชนนีอุดรธานี; 2553.
ขวัญดาว กลั่นรัตน์. ปัจจัยเชิงสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตภูมิภาค ตะวันตกของประเทศไทย. [ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนามนุษย์]. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร; 2554.
เนตรดาว จิตโสภากุล. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนหมู่ที่ 6 ตำบลบึงศาลอำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก.วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยปทุมธานี. 2557; 6 (3): 171 -178.
คมกริช หุตะวัฒนะ. การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุตำบลพันชนะ อำเภอด่านขุนทดจังหวัดนครราชสีมา. [วิทยานิพนธ์สาธาณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาสุขภาพชุมชน]. นครราชสีมา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา; 2553.
กัลยา มั่นล้วน วิภาดา กาญจนสิทธิ์ และนิภา สุทธิพันธ์. พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองโพรง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 วิทยาลัย นครราชสีมา. 2562.
วรรณวิมล เมฆวิมล. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผู้สูงอายุในจังหวัดสมุทรสงคราม, กรุงเทพมหานคร. สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา; 2555.
วัชพลประสิทธิ์ ก้อนแก้ว. พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่อยู่อาศัยในเขตเทศบาลตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมืองชลบุรี. [วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป]. ชลบุรี: วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจมหาวิทยาลัยบูรพา; 2557.
เขมิกา สมบัติโยธา วิทยา อยู่สุข และนิรุวรรณ เทิรนโบล์. พฤติกรรมสุขภาพกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.2562; 38 (1) : 47- 59.
ปรางค์ทิพย์ อุจะรัตน และ วัฒนา พันธุ์ศักดิ์. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนแออัดเขตเมือง : กรณีศึกษาชุมชนบ้านบุ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลศาสตร์. 2554; 29(3): 83-93.