Developing of an Integrated Self- Management Program Affecting Health Behaviors and Nutritional Status of Overnutrition Students in Upper Primary School. การพัฒนาโปรแกรมบูรณาการการจัดการสุขภาพที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพและภาวะโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายที่มีภาวะโภชนาการเกิน
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were 1) to establish and develop an integrated self-management program for over nutritional students in upper-Primary School; 2) to study the effect of using the integrated self-management program for over nutritional students in upper primary school. The population is 43 over nutritional students in grades 4-6 in Tessaban3 Watchaichanasongkram school. Research instruments consist of 1) the integrated self-management program for over nutritional students in upper primary school. There were 3-self activities, including self-care, self-awareness, 10-week self-control and 2) behavioral questionnaires including food consumption behavior, physical activity, managing emotions and stress. Questionnaires were 5-level estimation scale which the overall instrument’s reliability was 0.795. The data were analyzed by using basic statistics Pearson Correlation, ANOVA and MANOVA.
The results of this research indicated that 1) the efficacy of the integrated self-management program for over nutritional students in upper primary school was good and 2) there were differences in food consumption, physical activity and emotions and stress managing among week 1, week 5, week 10. After participating the program, nutritional status in weeks 1-4 was not different significantly while there were differences in nutritional status in week 5-10 compared with before using the program.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
สำนักข่าวสร้างสุข. คนไทยเป็นโรคอ้วน แนวโน้มพุ่งสูงขึ้น แนะร่วมมือป้องกันแก้ไข ในวันอ้วนโลก[อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 20 พฤษภาคม 2565]; เข้าถึงได้จาก https://www.thaihealth.or.th
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.สดจากเยาวชน : หนูน้อยน่ารัก ด้วยผักและผลไม้. [อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2565]; เข้าถึงได้จาก https://www.khaosod.co.th/lifestyle/news_991173
ลัดดา เหมาะสุวรรณ, วิชัย เอกพลากร, นิชรา เรืองดารกานนท์, ปราณี ชาญณรงค์, ภาสุรี แสงศภวนิช, วราภรณ์ เสถียรนพเก้า, และคนอื่นๆ. รายงานการสร้างสุขภาพประชาชนไทย (สุขภาพเด็ก) โดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2. 2552. [เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2565] เข้าถึงได้จาก http://www.hiso.or.threport health/report/
มูลนิธิสุขภาพไทย. สร้างสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย. [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2565]; เข้าถึงได้จาก http//www.thaihof.org.th
พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนา และ ศรีสุดา เอกลัคนารัตน์. การพยาบาลเด็ก เล่ม1. นนทบุรี: ยุทธรินทการพิมพ์; 2555.
Bandura, A. Social Learning Theory.New York:General Learning Press; 1997.
Bandura, A. Social Foundation of thought and action: A Social cognitive theory. New Jersey, NJ: Prentice – Hall; 1986.
อังศินันท์ อินทรกำแหง. การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ: 3-self ด้วยหลัก PROMISe Model.กรุงเทพฯ: สุขุมวิท; 2552.
ศิรดา เสนพริก. ผลลัพธ์การประยุกต์ใช้ทฤษฏีความสามารถของตนเองในโปรแกรมสุขศึกษาในเด็กที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต. สุราษฏร์ธานี: มหาวิทยาลัยสุราษฏร์ธานี; 2560.
อัญชนา สุขอนนท์. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ในเขตเทศบาลเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี. วารสารพยาบาลสาธารณสุข; 2559.
กชมล ธนะวงศ์. ผลของการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาเรื่องการดูแลสุขภาพส่วนบุคคลโดยใช้ทฤษฎีการกำกับตนเองที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนประถมศึกษา. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา; 2557. 9(2): 1-15.
ศศิธร ตันติเอกรัตน์และอภิชัย คุณีพงษ์. ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนประถมศึกษาที่มีภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน. วารสารการพยาบาลและการศึกษา; 2562. 12(1):100-116.
ปภาสินี แซ่ติ๋ว และธนิดา ทีปะปาล. การพัฒนาโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพต่อการลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฏร์ธานีที่มีภาวะน้ำหนักเกิน.วารสารการพยาบาล; 2559. 9(3): 80-94.
สุพิชชา วงค์จันทร์. ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3-Self เพื่อลดภาวะอ้วนของวัยรุ่นตอนปลาย. (วิทยานิพนธ์) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2557.
ทิพวรรณ หรรษาคุณาชัย. ตำราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก: สำหรับเวชปฏิบัติทั่วไป (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: ชมรมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก; 2554.
สำนักข่าวสร้างสุข. ไขความเชื่อผิดๆกินแล้วผอม. [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 20 พฤษภาคม 2565]; เข้าถึงได้จาก https://www.thaihealth.or.th.