ประเด็นสำรวจสุขภาพ เพื่อบริจาคโลหิตที่ปลอดภัยต่อผู้รับ
คำสำคัญ:
บริจาคโลหิต, โลหิตสำรอง, ผู้บริจาคโลหิตบทคัดย่อ
โลหิตที่ใช้สำรองในโรงพยาบาลต่าง ๆ ทั่วประเทศไทยมาจากการรับบริจาคโลหิตจากผู้ที่มีสุขภาพดีและประสงค์ต้องการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ให้พ้นจากภาวะวิกฤตทางสุขภาพอันเกิดจากโรคภัยและอุบัติเหตุ โดยไม่มีการแบ่งแยก การมีปริมาณโลหิตสำรองที่เพียงพออยู่เสมอจึงเป็นเรื่องสำคัญ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันสัดส่วนผู้บริจาคโลหิตในประเทศไทยยังต่ำกว่าเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก จึงทำให้เกิดภาวะขาดแคลนโลหิตสำรองอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในภาวะโรคระบาดจากเชื้อไวรัสโควิด-19 ในบทความนี้จึงนำเสนอ
9 ประเด็นสำรวจสุขภาพของตนเอง อาทิ ประเภทของอาหาร สมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ต้องงดชั่วคราวก่อนการบริจาคโลหิต ข้อมูลการเจ็บป่วยและการใช้ยารักษาโรคประจำตัว การฉีดวัคซีน การผ่าตัด ประวัติการเดินทางไปในพื้นที่เสี่ยง เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจบริจาคโลหิตใช้พิจารณาความพร้อมของตนเองว่าโลหิตที่จะบริจาคมีความปลอดภัยแก่ผู้รับ และสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการรักษาสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงและไม่มีโรคติดเชื้อที่ส่งต่อทางโลหิต ซึ่งจะทำให้สามารถบริจาคโลหิตได้ยาวนานจนถึงวัยเกษียณ อันเป็นการลดภาวะขาดแคลนโลหิตสำรองในประเทศไทยได้อย่างยั่งยืนยิ่งขึ้น
References
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย. แผนปฏิบัติการด้านงานบริการโลหิตของประเทศไทย พ.ศ. 2565–2570.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อุดมศึกษา; 2564.
สำนักข่าว Hfocus.org เจาะลึกระบบสุขภาพ. ศูนย์บริการโลหิตฯ ปลุกพลังผู้ให้ทั่วประเทศ บริจาคเลือดทุก 3 เดือน. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://www.hfocus.org/content/2024/01/29595
สถิติประชากรทางการทะเบียนราษฎร สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/statmonth/#/displayData
Lin Chen, Zeyong Yang and Henry Liu. “Hemoglobin-Based Oxygen Carriers: Where Are We Now in 2023?”. Medicina 2023; 59(396): 1-11.
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย. คู่มือสาขาบริการโลหิตแห่งชาติ ปี 2564. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://thethairedcrosssociety-my.sharepoint.com/personal/manual_pr_redcross_or_th/_layouts/15/onedrive.aspx?id=%2Fpersonal%2Fmanual_pr_redcross_or_th%2FDocuments%2Fคู่มือของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ &ga=1
PPTV Online. กาชาด ชวนบริจาคโลหิต เป็นประจำทุก 3 เดือน เติมคลังเลือด ตลอดปี 2567. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://www.pptvhd36.com/health/news/4736
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย. คู่มือการใช้บริการศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ปี 2566. พิมพ์ครั้งที่ 3. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://thethairedcrosssociety-my.sharepoint.com/personal/manual_pr_redcross_or_th/_layouts/15/onedrive.aspx?ga=1&id=%2Fpersonal%2Fmanual_pr_redcross_or_th%2FDocuments%2Fคู่มือของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ%2Fคู่มือการใช้บริการศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ%20สภากาชาดไทย%20ปี%202566%2Epdf&parent=%2Fpersonal%2Fmanual_pr_redcross_or_th%2FDocuments%2Fคู่มือของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ
RYT9. ศิริราชขอเชิญร่วมบริจาคเลือด เนื่องในเทศกาลวันแม่แห่งชาติ ระหว่างวันที่ 8 - 15 ส.ค.67. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://www.ryt9.com/s/prg/3537535
ณิชชา ไพรัตน์. งานธนาคารเลือด โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. บริจาคโลหิตภายในโรงพยาบาล. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก http://www.bloodbanktu.com/index2.php?id=10
World Health Organization. Global Status Report On Blood Safety And Availability 2021. [Online]. [Accessed 2024 November 2] Available from https://www.who.int/campaigns/world-blood-donor-day/2024
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย. คู่มือการรับบริจาคโลหิต Blood Donation Manual. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อุดมศึกษา; 2564.
สุรีรัตน์ ณ วิเชียร. การนอนหลับของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารสภาการพยาบาล. 2564; 36 (2) : 18-31.
ธิติมา ณรงค์ศักดิ์, ฐิติมา สงวนวิชัยกุล และ วรพงศ์ ตรีสิทธิวนิช. การนอนหลับและสุขอนามัยการนอนหลับ. วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา. 2563; 14 (2) : 69-85.
นาฏนภา อารยะศิลปธร และคณะ. ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการนอนหลับของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่ง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี. 2560; 28 (1) : 38-50.
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย. คู่มือการรับบริจาคโลหิต Blood Donation Manual, กรุงเทพฯ: นำอักษรการพิมพ์; 2564.
โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ (SiPH). กินยาครบ วัณโรคหายขาด. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27 กันยายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/475
วิสิฏฐ์ สุรวดี. ความรู้พื้นฐานของยาต้านวัณโรค. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27 กันยายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://www.si.mahidol.ac.th/
th/healthdetail.asp?aid=1318
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย. คุณสมบัติผู้บริจาคโลหิต. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://blooddonationthai.com/?page_id=735
ปาริชาติ เพิ่มพิกุล. Rh Negative Blood and Pregnancy. วารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตร์บริการโลหิต. 2561; 28 (2) : 205-208.
The American National Red Cross. What Is The Rh Factor? Why Is It Important?. [Online]. [Accessed 2024 Sep 27]. Available from: https://www.redcross blood.org/local-homepage/news/article/what-is-the-rh-factor--why-is-it-important-.html
วิภาวรรณ รัตนพิทักษ์. การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะตกเลือด. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. 2561; 19 (36) : 101-108.
จิรัสย์พล ไทยานันท์. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดระยะแรกในการคลอดทางช่องคลอดที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารบูรพาเวชสาร. 2566; 20 (1) : 1-17.
ธนภพ บำเพ็ญเกียรติกุล. 4 โรคติดต่ออันตรายที่มากับเพศสัมพันธ์. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27 กันยายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://chulalongkornhospital.go.th/kcmh/line/4-โรคติดต่ออันตรายที่มาก/
เด่นพงศ์ พัฒนเศรษฐานนท์. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (Sexually transmitted disease). [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id=739
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์. การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีก่อนการสัมผัสเชื้อ. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27 กันยายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/february-2022/prep
กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ปี 2564/2565. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2565.
Mark J. Siedner, Ethan Tumarkin and Isaac I. Bogoch. HIV post-exposure prophylaxis (PEP). BMJ 2018; 363 k4928: 1-4.
สิรินุช พละภิญโญ และคณะ. การใช้ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในผู้สูงอายุ. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id=680
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย. ภาวะแทรกซ้อนของโรคมาลาเรีย. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27 กันยายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://chulalongkornhospital.go.th/kcmh/line/ภาวะแทรกซ้อนของโรคมาลา/
คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรคมาลาเรีย.[ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27กันยายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://www.rama.
mahidol.ac.th/ramachannel/infographic/โรคมาลาเรีย/
ธนพล ทรงธรรมวัฒน์. รายงานกรณีศึกษาผู้ป่วยน่าจะเป็นครอยท์ซเฟลด์-เจคอบดิซิส (Probable Sporadic Creutzfeldt-Jakob Disease) ที่พบในโรงพยาบาลหัวหิน. วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล. 2563; 5 (1) : 1-9.
Florian P Thomas. Variant Creutzfeldt-Jakob Disease and Bovine Spongiform Encephalopathy. [Online]. [Accessed 2024 Nov 2].Available from: https://emedicine.medscape.com/article/1169688-overview
ศูนย์วิจัยโรคเอดส์และโรคติดเชื้อ สภากาชาดไทย (คลีนิคนิรนาม).ทำไมถึงต้องตรวจ HIV?. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://th.trcarc.org/ทำไมถึงต้องตรวจ-hiv/
ศูนย์ผิวหนังและศัลยกรรมตกแต่ง โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาการุณย์.ตัดชิ้นเนื้อ ผ่าตัดเล็กเช็คอาการเสี่ยงโรคผิวหนัง. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27 กันยายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/929/Skinbiopsy
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.3 TYPES OF VACCINES รู้จักวัคซีน 3 ประเภท. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27 กันยายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://dmh.go.th/news/view.asp?id=2358
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. ไวรัสตับอักเสบเอ อันตรายที่ป้องกันได้. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27 กันยายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://www.rama. mahidol.ac.th/ramachannel/infographic/ไวรัสตับอักเสบเอ-อันตรา/
สมาคมโรคตับแห่งประเทศไทย.ไวรัสตับอักเสบ บี มีวัคซีนในการบ้องกัน. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27 กันยายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://thasl.org/ไวรัสตับอักเสบบี-มีวัคซ/
ชนเมธ เตชะแสนศิริ. HPV ไวรัสร้ายใกล้ตัวที่ควรป้องกันตั้งแต่วัยรุ่น. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27 กันยายน 2567].เข้าถึงได้จาก https://www. rama.mahidol.ac.th/rama_hospital/th/services/knowledge/08312020-1159
โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ (SiPH). ไขข้อสงสัย วัคซีนไข้หวัดใหญ่. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 27 กันยายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/influenza-vaccine-2
A Singapore Government Agency Website. Biotin interference with clinical laboratory tests. [Online]. [Accessed 2024 Sep 27].Available from: https://www.hsa.gov.sg/announcements/safety-alert/biotin-interference-with-clinical-laboratory-tests
สภากาชาดไทย. บริจาคโลหิต. [ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2567]. เข้าถึงได้จาก https://english.redcross.or.th/donate/การบริจาคโลหิต/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมล้านนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution 4.0 International License.