สถานการณ์ ฟันตกกระ สาเหตุ ปัจจัย และแนวทางแก้ไข

The Situation of Dental Fluorosis, Causes Factors and Solutions

ผู้แต่ง

  • รังสิมันต์ ฝากมิตร
  • วราภรณ์ บุญเชียง
  • อารีรัตน์ นิรันต์สิทธิรัชต์
  • ณภัทร เกียรติไชยากร -

คำสำคัญ:

ฟันตกกระ, สาเหตุปัจจัย, แนวทางแก้ไข

บทคัดย่อ

ฟันตกกระ เป็นความผิดปกติของชั้นเคลือบฟัน พบมากโดยเฉพาะในเด็กวัยเรียน สาเหตุเกิดจากการที่ร่างกายได้รับฟลูออไรด์ในปริมาณมาก ในช่วงที่เกิดกระบวนการสร้างเคลือบฟัน ส่งผลให้ชั้นเคลือบฟันเกิดการสะสมแร่ธาตุน้อยลงและเกิดรูพรุนขึ้น

ฟันตกกระเป็นโรคประจำถิ่น สามารถพบได้ในหลายพื้นที่ของโลกรวมถึงประเทศไทย ซึ่งส่วนใหญ่พบได้ในบริเวณเชิงเขาของภูเขาสูงและพื้นที่ในบริเวณที่อดีตเคยเป็นทะเลมาก่อน ในประเทศไทยพบมากในภาคเหนือ  ปัจจัยหลักที่เป็นสาเหตุของฟันตกกระคือการบริโภคน้ำจากแหล่งน้ำที่มีปริมาณฟลูออไรด์สูงมากกว่า 0.7 ppm หรือ 0.7 มิลลิกรัมต่อลิตร และปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องได้แก่ การได้รับฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูงในกระแสเลือดของมารดาระหว่างการตั้งครรภ์สู่ทารกในครรภ์

ฟันตกกระสามารถป้องกันได้โดยไม่บริโภคน้ำที่มีฟูลออไรด์สูง เลือกใช้น้ำจากแหล่งน้ำที่มีฟลูออไรด์ต่ำ เช่น น้ำฝน น้ำผิวดิน น้ำบริโภคบรรจุขวดและน้ำกรองแบบรีเวอร์สออสโมซีส  ในระดับพื้นที่หรือประเทศ
อาจใช้นโยบายควบคุมปริมาณฟลูออไรด์ที่ได้รับจากแหล่งน้ำที่ใช้อุปโภคและบริโภค นอกจากนี้การควบคุมปริมาณการใช้ยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์เป็นส่วนผสมสำหรับเด็กช่วงอายุต่าง ๆ ก็เป็นเรื่องสำคัญอีกด้วย

References

Fejerskov O, Manji F, Baelum V. The nature and mechanisms of dental fluorosis in man. J Dent Res. 1990;69 Spec No:692-721.

สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานผลการสํารวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย; 2561.

สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานผลการสํารวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 7 พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ: สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย; 2556.

กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานผลการสํารวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 พ.ศ. 2549-2550. กรุงเทพฯ: กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย; 2551.

McGrady MG, Ellwood RP, Srisilapanan P, et al. Dental fluorosis in populations from Chiang Mai, Thailand with different fluoride exposures - paper 1: assessing fluorosis risk, predictors of fluorosis and the potential role of food preparation. BMC Oral Health. 2012;12:16.

Nakornchai S, Hopattaraput P, Vichayanrat T. Prevalence, Severity and Factors Associated with Dental Fluorosis among Children Aged 8-10 Years in Bangkok, Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 2016;47(5):1105–11.

ขนิษฐา อุปการ, ทิพยาภรณ์ มาลา. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะฟันตกกระในเด็กวัยเรียนกับพฤติกรรมการบริโภคน้ำในครอบครัวที่มีเด็กฟันตกกระของตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย; 2560. 7(2).

Leverett D. Prevalence of dental fluorosis in fluoridated and nonfluoridated communities--a preliminary investigation. J Public Health Dent. 1986;46(4):184–7.

World Health Organization. [Internet]. Water Sanitation and Health: Water-related diseases – Fluorosis; 2021 [Cited 2021 Apr 4]. Available fromhttps://www.who.int/ teams/environment -climate-change-and-health/water-sanitation-and-health/burden-of-disease/other-diseases-and-risks/fluorosis

นิภาพรรณ โอศิริพันธุ์. การรับรู้สภาวะฟันตกกระของประชาชนในตำบลดอยเต่า. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2543.

สุรางค์ หมื่นกัณฑ์. สภาวะฟันตกกระและพฤติกรรมการป้องกันการได้รับฟลูออไรด์สูงจากน้ำบริโภคของประชาชนบ้านสันคะยอม ตำบลมะเขือแจ้ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2553.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ [อินเตอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน; 2557. น้ำดื่มชุมชนฟลูออไรด์สูงเกินเหตุฟันตกกระ. [เข้าถึงเมื่อ 25 ก.ค. 2565]; เข้าถึงได้จากhttps://www.thaihealth. or.th/Content/26539-%20เหตุฟันตกกระ.html

Den Besten PK, Thariani H. Biological mechanisms of fluorosis and level and timing of systemic exposure to fluoride with respect to fluorosis. J Dent Res. 1992;71:1238-43.

Ferreira EF, Vargas AM, Castilho LS, et al. Factors associated to endemic dental fluorosis in Brazilian rural communities. Int J Environ Res Public Health. 2010;7(8):3115–28.

Abanto AJ, Rezende KM, Marocho SM, et al. Dental fluorosis: exposure, prevention and management. Med Oral Patol Oral Cir Bucal. 2009;14(2):E103–7.

Mascarenhas AK. Risk factors for dental fluorosis: a review of the recent literature. Pediatr Dent. 2000;22(4):269–77.

Thylstrup A, Fejerskov O. Clinical appearance of dental fluorosis in permanent teeth in relation to histologic changes. community Dent Oral Epidemiol. 1978; 6 (6): 315–28.

Burt BA. The changing patterns of systemic fluoride intake. J Dent Res. 1992;71(5):1228–37.

Alkhatib MN, Holt R, Bedi R. Aesthetically objectionable fluorosis in the United Kingdom. Br Dent J. 2004;197(6):325–8.

Cavalheiro JP, Girotto BD, Restrepo M, et al. Clinical aspects of dental fluorosis according to histological features: a Thylstrup Fejerskov Index review. CES odontol. 2017;30(1):41-50.

Pini NI, Sundfeld-Neto D, Aguiar FH, et al. Enamel microabrasion: An overview of clinical and scientific considerations. World J Clin Cases. 2015; 3(1):34–41.

Sundfeld RH, Sundfeld-Neto D, Machado LS, et al. Microabrasion in tooth enamel discoloration defects: three cases with long-term follow-ups. J Appl Oral Sci. 2014;22(4):347–54.

Sherwood IA. Fluorosis varied treatment options. J Conserv Dent. 2010;13(1): 47–53.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

10/25/2022 — Updated on 11/03/2022

ฉบับ

บท

บทความวิจัย