ผลของโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนต่อความรู้ และทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1
คำสำคัญ:
ความรู้, ทักษะ, การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนหลัง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนต่อความรู้ และทักษะช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคมถึงตุลาคม 2566 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 และไม่เคยผ่านการอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน จำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการจัดการเรียนการสอนฯ แบบทดสอบความรู้ และแบบประเมินทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน มีค่าความเชื่อมั่น 1.0, 0.95 และ 0.91 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และ สถิติค่าทีแบบจับคู่ (paired sample t–test)
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน หลังเข้าโปรแกรม (M=17.2, SD=4.84) สูงกว่าก่อนเข้าโปรแกรม (M=2.52, SD=1.76) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=20.08, p<.05) ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน หลังเข้าโปรแกรม (M=9.40, SD= .75) สูงกว่าก่อนเข้าโปรแกรม (M=3.48, SD=1.19) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=30.94, p<.05)
ดังนั้นโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนต่อความรู้ และทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาความรู้ การตัดสินใจ และทักษะการปฏิบัติ โดยมีจุดเน้นในการประมวลผลที่สามารถทำให้เห็นถึงประสิทธิภาพการปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
References
American Heart Association. (2020). High lights of the 2020 American Heart Association guidelines for CPR and ECC. Retrieved from https://cpr.heart.org/-/media/cpr-files/cpr-guidelines-files/highlights/hghlghts_2020_ecc_guidelines_english.pdf
Anderson, LW., & David, K. (2001). A taxonomy for learning, teaching, and assessing: a revision of Bloom's taxonomy of educational objectives. Retrieved from https://cft.vanderbilt.edu/guides-sub-pages/blooms-taxonomy/
Bloom, B.S. (1975). Taxonomy of Education. New York: David McKay Company.Chaiwong, N., Phakpho, K., Kraisin, W., Sakha, M., Kambang, W., Phimathai, P., & Pakdelun, K. (2021, July 29-30). The Effects of Learning Skill Development of Basic Life Support to Sudden Cardiac Arrest Program for Student of Buriram Rajabhat University, Ubon Ratchathani Rajabhat University, Ubon Ratchathani. (in Thai).
Division of Non Communicable Disease. (2022). The report non communicable diseases. Retrieved 23 June 2023, from http://www.thaincd.com/document/file/download/paper-manual/Report2565NCDs.pdf. (in Thai)
Huang, Y., He, Q., Yang, L. J., Liu, G. J., & Jones, A. (2014). Cardiopulmonary resuscitation (CPR) plus delayed defibrillation versus immediate defibrillation for out-of-hospital cardiac arrest. The Cochrane database of systematic reviews, 2014(9), CD009803. https://doi.org/10.1002/14651858.CD009803.pub2
Meaney, P. A., Bobrow, B. J., Mancini, M. E., Christenson, J., de Caen, A. R., Bhanji, F., Abella, B. S., Kleinman, M. E., Edelson, D. P., Berg, R. A., Aufderheide, T. P., Menon, V., Leary, M., & CPR Quality Summit Investigators, the American Heart Association Emergency Cardiovascular Care Committee, and the Council on Cardiopulmonary, Critical Care, Perioperative and Resuscitation (2013). Cardiopulmonary resuscitation quality: [corrected] improving cardiac Patel , K., & Hipskind, J. E. (2023). Cardiac Arrest. In StatPearls. StatPearls Publishing. resuscitation outcomes both inside and outside the hospital: a consensus statement from the American Heart Association. Circulation, 128(4), 417–435.
Norkaeo, D., Treenon, P., Nattaya, C., Kanbupar, N., Teanthong, S., & Kaewmanee, C. (2018). Nursing students knowledge and skills about Basic Life Support (BLS): The effects of simulation-based learning, The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health, 5(3), 84-95. (in Thai).
Partiprajak, S. (2015). Relationship between knowledge, perceived self-efficacy in Basic Life Support (BLS) and chest compression performance among undergraduate nursing students. Songklanagarind Journal of Nursing, 35(1), 119-134. (in Thai).
Patel , K., Hipskind, J. E., & Akers, S. W. (2023). Cardiac Arrest (Nursing). In StatPearls. StatPearls Publishing.Robkob, W.,Inchaithep, S. & Thinwang, W. (2022). Development of learning outcomes based on learning and evaluation redesigned using standardized patient in Simulation-Based Learning (SBL) in mental health and psychiatric nursing courses. Journal of Health Sciences Scholarship, 9(1), 228-252. (in Thai).
Ruangrit, R., Keawpimon, P., & Sengloiluean, K. (2021). Knowledge, skills and self-confidence in Basic Life Support and Automated External Defibrillator (AED) using among under graduated nursing students, Princess of Naradhiwas University Journal, 13(2), 125-141. (in Thai).
Saengpanit, C. (2018). Factors associated with successful prehospital resuscitation of out of hospital cardiac arrest by emergency medical service, Uttaradit hospital. Boromarajonani College of Nursing, Uttaradit Journal, 85-96. (in Thai).
Srisuk, P., Apiratwarakul, K., Ienghong, K., Rattanaseeha, W., Kotruchin, P., & Buranasakda, M. (2017). Effectiveness of Basic Life Support and Automated External Defibrillator short-course training in undergraduate students. Srinagarind Medical Journal, 32(4), 332-337. (in Thai).
Tsao, C. W., Aday, A. W., Almarzooq, Z. I., Anderson, C. A. M., Arora, P., Avery, C. L., Baker-Smith, C. M., Beaton, A. Z., Boehme, A. K., Buxton, A. E., Commodore-Mensah, Y., Elkind, M. S. V., Evenson, K. R., Eze-Nliam, C., Fugar, S., Generoso, G., Heard, D. G., Hiremath, S., Ho, J. E., Kalani, R., … American Heart Association Council on Epidemiology and Prevention Statistics Committee and Stroke Statistics Subcommittee (2023). Heart Disease and Stroke Statistics-2023 Update: A Report From the American Heart Association. Circulation, 147(8), e93–e621.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือก่อนเท่านั้น
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
อนึ่ง ข้อความและข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ถือเป็นความเห็นของวารสารฯ และวารสารฯ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับข้อความและข้อคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน วารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาตีพิมพ์ตามความเหมาะสม รวมทั้งการตรวจทานแก้ไขหรือขัดเกลาภาษาให้ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด