บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยจิตเภทที่รับการรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึก

ผู้แต่ง

  • จารุวรรณ ก้านศรี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนนก
  • สว่างจิตต์ วสุวัต โรงพยาบาลศรีธัญญา
  • ชุติมา มาลัย วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนนก
  • ศศิวิมล บูรณะเรข วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

คำสำคัญ:

พยาบาล, ผู้ป่วยจิตเภท , การรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึก

บทคัดย่อ

บทนำ: การรักษาไฟฟ้าเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพสำหรับใช้ในการรักษาผู้ป่วยจิตเภท อย่างไรก็ตามจากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า การรักษาไฟฟ้ายังคงมีภาวะแทรกซ้อนทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ

วัตถุประสงค์: เพื่อนำเสนอแนวคิดและบทบาทพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล ในการดูแลผู้ป่วยจิตเภทที่รับการรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึก

ประเด็นสำคัญ: ภาวะแทรกซ้อนทั้งระยะสั้นและระยะยาวของผู้ป่วยจิตเภทที่รับการรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึกมีความแตกต่างกัน  พยาบาลจำเป็นต้องให้การดูแลผู้ป่วยจิตเภทตามกระบวนการพยาบาล ทั้งระยะก่อน  ขณะ และหลังการรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึกอย่างมีมาตรฐาน

สรุป: พยาบาลสามารถใช้กระบวนการพยาบาลทั้งระยะก่อน ขณะ และหลังการรักษาด้วยไฟฟ้า เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึก

ข้อเสนอแนะ: การพยาบาลนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยที่มีปัญหาทางสุขภาพจิตอื่น ๆ ที่รับการรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึก 

Downloads

Download data is not yet available.

References

Chaiudomsom K, Phaholapak P, Wattanawitkit P, Phaholapak P. Psychiatry. Khon Kaen: Nana Wittaya;2016. (in Thai)

Subedi S, Aich TK, Sharma N. Use of ECT in Nepal: A one year study from the country’s largest psychiatric facility. J Clin Diagn Res 2016;10(2):VC01-VC04.

Wasuwat S, Kansri J, Puangladda S. The development of a psychiatric nursing model in schizophrenia patients with modified electroconvulsive therapy. J of The Royal Thai Army Nurse 2021;(23):408-16.

Obbels J, Verwijk E, Bouckaert F, Sienaert P. ECT-related anxiety: A systematic review. The Journal of ECT 2017;33(4):229–36.

Bastick, L, Shrimpton, T. Reflections on advanced practice of nurse administered ECT as a treatment resource during the Covid19 pandemic. Open Journal of Nursing 2021; 11:909-19.

Wuttiliuk P. Nursing for patients with schizophrenia: Roles and processes. 2nd ed. Chiang Mai: Design Print; 2018. (In Thai).

Seeherunwong, A, Yuttatri P, Kaesornsamut P, Thanoi W. Psychiatric nursing. Bangkok: Amarin Printing & Publishing; 2014. (In Thai).

Pinho LGD, Pereira A, Chaves C. Nursing interventions in schizophrenia: The importance of therapeutic relationship. Nurse Care Open Acces J 2017;3(6):331-3.

Akanit L, Pikul N. Evidence-based review of anxiety reduction in patients undergoing open-heart surgery. Nurse Pract 2015;42(Supplement):61-72. (in Thai).

Ebrahimi H, Navidian A, Keykha R. Effect of supportive nursing care on self esteem of patients receiving electroconvulsive therapy: A randomized controlled Clinical Trial. J of Caring Sciences 2014;3(2):149-56.

Keykha R, mahmoodi N, keykha M. Effect of nursing supportive care on state anxiety of patients receiving ECT: A controlled randomized clinical trial. International J of Pharmaceutical Research & Allied Sciences 2016;5(3):412-7.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-25