การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจชนิดถาวรโดยใช้เทคนิคการวางสายกระตุ้นที่ตำแหน่งแขนงการนำกระแสไฟฟ้าหัวใจกิ่งซ้าย
Main Article Content
บทคัดย่อ
เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจชนิดถาวรเป็นอุปกรณ์ที่ใช้รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะความผิดปกติของการนำไฟฟ้าหัวใจจากห้องบนสู่ห้องล่างหรือมีจุดกำเนิดไฟฟ้าของหัวใจทำงานผิดปกติ เพื่อช่วยให้หัวใจเต้นในจังหวะที่เหมาะสม ปัจจุบันเทคนิคการวางสายกระตุ้นไฟฟ้าในหัวใจห้องล่างขวามี 2 วิธี ได้แก่ วางผ่านกล้ามเนื้อหัวใจและวางที่ระบบนำไฟฟ้าของหัวใจ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ตำแหน่ง คือ His bundle branch area pacing และแขนงการนำกระแสไฟฟ้าหัวใจกิ่งซ้าย (left bundle branch area pacing, LBBAP) ซึ่งเป็น
ตำแหน่งที่วางสายง่าย เสถียร ใช้กำลังไฟในการกระตุ้นต่ำ ทำให้หัวใจห้องล่างขวาและล่างซ้ายทำงานสัมพันธ์กันได้ดีกว่า จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน บทความนี้จะอธิบายถึง
เทคนิคการทำหัตถการ LBBAP ดังกล่าว
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาลงพิมพ์ต้องไม่เคยพิมพ์หรือกำลังได้รับการพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารอื่น เนื้อหาในบทความต้องเป็นผลงานของผู้นิพนธ์เอง ไม่ได้ลอกเลียนหรือตัดทอนจากบทความอื่น โดยไม่ได้รับอนุญาตหรือไม่ได้อ้างอิงอย่างเหมาะสม การแก้ไขหรือให้ข้อมูลเพิ่มเติมแก่กองบรรณาธิการ จะต้องเสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยก่อนจะได้รับพิจารณาตีพิมพ์ และบทความที่ตีพิมพ์แล้วเป็นสมบัติ ของลำปางเวชสาร
References
วิวัฒน์ กาญจนรุจวิวัฒน์, ธันวา พิทักษ์สุธีพงศ์, รัตนา เดิมสมบูรณ์. การใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจชนิดถาวรในโรงพยาบาลพระปกเกล้า: ภาวะแทรกซ้อนและการแก้ไข. วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า 2558;32(1):58–67.
อาจบดินทร์ วินิจกุล, รุ่งโรจน์ กฤตยพงษ์. Practical electrocardiography. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา; 2562.
Chung MK, Patton KK, Lau CP, Dal Forno ARJ, Al-Khatib SM, Arora V, et al. 2023 HRS/APHRS/
LAHRS guideline on cardiac physiologic pacing for the avoidance and mitigation of heart failure.
Heart Rhythm. 2023;20(9):e17–91.
Israel CW, Tribunyan S, Yen Ho S, Cabrera JA. Anatomy for right ventricular lead implantation. Herzschrittmacherther Elektrophysiol. 2022;33(3):319–26.
Somma V, Ha FJ, Palmer S, Mohamed U, Agarwal S. Pacing-induced cardiomyopathy: a systematic review and meta-analysis of definition, prevalence, risk factors, and management. Heart Rhythm. 2023;20(2):282–90.
Gavaghan C. Pacemaker induced cardiomyopathy: an overview of current literature. Curr Cardiol Rev. 2022;18(3):21–6.
Saleiro C, Sousa PA, Nogueira C, Mota L, Almeida C, Bragança G, et al. His bundle pacing and left bundle branch area pacing: Feasibility and safety. Rev Port Cardiol. 2023;42(8):683–91.
Naqvi TZ, Chao C-J. Adverse effects of right ventricular pacing on cardiac function: prevalence, prevention and treatment with physiologic pacing. Trends Cardiovasc Med. 2023;33(2):109–22.
Deshmukh P, Casavant DA, Romanyshyn M, Anderson K. Permanent, direct His-bundle pacing: a novel approach to cardiac pacing in patients with normal His-Purkinje activation. Circulation. 2000;101(8):869–77.
Huang W, Chen X, Su L, Wu S, Xia X, Vijayaraman P. A beginner’s guide to permanent left bundle branch pacing. Heart Rhythm. 2019;16(12):1791–6.
Huang W, Su L, Wu S, Xu L, Xiao F, Zhou X, et al. A novel pacing strategy with low and stable output: pacing the left bundle branch immediately beyond the conduction block. Can J Cardiol. 2017;33(12):1736.
Jastrzebski M, Burri H, Kiełbasa G, Curila K, Moskal P, Bednarek A, et al. The V6–V1 interpeak interval: a novel criterion for the diagnosis of left bundle branch capture. Europace. 2022;24(1):40–7.
Yu GI, Kim TH, Yu HT, Joung B, Pak HN, Lee MH. Left bundle branch area pacing with stylet-driven pacingleads: implantation technique. Int J Arrhythm. 2023;24:12.
ลัดดาวัลย์ เพ็ญศรี, นรลักขณ์ เอื้อกิจ. การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร: บทบาทพยาบาล. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. 2562;25(3):255–69.