เว็บไซต์การจัดการความรู้เพื่อการทำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
คำสำคัญ:
เว็บไซต์ความรู้, การจัดการ, เว็บไซต์วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, knowledge management website, masters thesis website of Rajamangala University of Technology Thanyaburiบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาและประเมินเว็บไซต์การจัดการความรู้เพื่อการทำวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (2) เพื่อศึกษาความ คิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อเว็บไซต์การจัดการความรู้เพื่อการทำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รุ่นที่ 7 จำนวน 29 คน โดยใช้เครื่องมือเป็นแบบประเมิน สำหรับผู้เชี่ยวชาญ 9 คน เพื่อวัดประสิทธิภาพของเนื้อหาของเครื่องมือ และประเมินผลด้านเทคนิคของเว็บไซต์ สำหรับ แบบสอบถามใช้ถามความคิดเห็นของผู้ใช้ การพัฒนาเว็บไซต์การจัดการความรู้เป็นไปตามกระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน ได้แก่ การบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลและกลั่นกรอง ความรู้ การเข้าถึงความรู้ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ และการเรียนรู้ ผลการวิจัยพบว่า เว็บไซต์การจัดการความรู้ เพื่อการทำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี มีประสิทธิภาพในระดับดี และนักศึกษาที่ใช้บริการเว็บไซต์ มีความคิดเห็นต่อเว็บไซต์การจัดการความรู้ว่ามี ประโยชน์อยู่ในระดับมาก
Knowledge Management Website for Master’s Thesis in Major of Educational Technology and Communications at Rajamangla University of Technology Thanyaburi
The purposes of this research were (1) To develop and evaluate the Knowledge Management Website for Master’s Thesis in Major of Educational Technology and Communications at Rajamangala University of Technology Thanyaburi (2) To seek for opinion from students using this website. Samples were from graduate students class 7 of Educational Technology and Communications, the Faculty of Technical Educational ,Rajamangala University of Technology Thanyaburi. Tools are (1) questionnaires for 9 specialists to evaluate the content and the effectiveness of the website; (2) questionnaire seeking opinions from students towards the use of the website. The development of knowledge management website, was based on seven steps including: the knowledge identification, knowledge creation and acquisition, knowledge organization, knowledge codification and refinement, knowledge access, knowledge sharing, learning. Findings showed the website developed is considered to be effective at high level (2) students’ opinions toward the use fullness of the website is at high level