การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของการเลี้ยงปลานิลในกระชัง ในเขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี

ผู้แต่ง

  • นันทพร สุทธิประภา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • สุนิดา ทองโท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

คาร์บอนฟุตพริ้นท์, ปลานิล

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของการเลี้ยงปลานิลใน กระชังในเขื่อนสิรินธร อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 27 ราย มีจำนวน 54 กระชังหรือ 540 บ่อ ทำการศึกษาการได้มาซึ่งวัตถุดิบของการเลี้ยงปลานิล จนได้ผลผลิตโดยวิธีการสัมภาษณ์ตามแบบสอบ และใช้หลักการประเมินตามแนวการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ขององค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก จากการศึกษาพบว่า การศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของการเลี้ยงปลานิลในกระชัง มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ การได้มาซึ่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การให้อาหารและวัคซีน และการจับปลาออกจำหน่าย พบว่า จากการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของเกษตรกรที่เลี้ยงปลานิล ในกระชัง จำนวน 27 ราย (รวม 54 กระชัง) โดยหาค่าเฉลี่ยของการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ดังนี้ การได้มาซึ่งวัตถุดิบปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์รวม 821.2824  KgCO2eq กระบวนการผลิตปล่อย คาร์บอนฟุตพริ้นท์รวม 386.5296 KgCO2eq การให้อาหารและวัคซีนมีการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์ รวม 58,463.3288 KgCO2eq และการจับปลาออกจำหน่ายมีการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์รวม 915.2528 KgCO2eq โดยผลรวมของกิจกรรมทั้งหมดของการเลี้ยงปลานิลในกระชังมีการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์ทั้งหมด 60,586.3966 KgCO2eq และโดยเฉลี่ยแต่ละกระชังปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์เกษตรกรรายที่ 15 มีการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์กิจกรรมการเลี้ยงปลานิลในกระชังมากที่สุด 2,444.492 KgCO2eq /ราย และเกษตรกรรายที่ 1 มีการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์จากกิจกรรมการ เลี้ยงปลานิลในกระชังน้อยที่สุด 1,966.14 KgCO2eq /ราย เนื่องจากเกษตรกรแต่ละรายมีจำนวน อัตราการให้อาหาร และอัตราการใช้น้ำที่แตกต่างกัน

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของการเลี้ยงปลานิลใน กระชังในเขื่อนสิรินธร อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 27 ราย มีจำนวน 54 กระชังหรือ 540 บ่อ ทำการศึกษาการได้มาซึ่งวัตถุดิบของการเลี้ยงปลานิล จนได้ผลผลิตโดยวิธีการสัมภาษณ์ตามแบบสอบ และใช้หลักการประเมินตามแนวการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ขององค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก จากการศึกษาพบว่า การศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของการเลี้ยงปลานิลในกระชัง มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ การได้มาซึ่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การให้อาหารและวัคซีน และการจับปลาออกจำหน่าย พบว่า จากการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของเกษตรกรที่เลี้ยงปลานิล ในกระชัง จำนวน 27 ราย (รวม 54 กระชัง) โดยหาค่าเฉลี่ยของการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ดังนี้ การได้มาซึ่งวัตถุดิบปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์รวม 821.2824  KgCO2eq กระบวนการผลิตปล่อย คาร์บอนฟุตพริ้นท์รวม 386.5296 KgCO2eq การให้อาหารและวัคซีนมีการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์ รวม 58,463.3288 KgCO2eq และการจับปลาออกจำหน่ายมีการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์รวม 915.2528 KgCO2eq โดยผลรวมของกิจกรรมทั้งหมดของการเลี้ยงปลานิลในกระชังมีการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์ทั้งหมด 60,586.3966 KgCO2eq และโดยเฉลี่ยแต่ละกระชังปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์เกษตรกรรายที่ 15 มีการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์กิจกรรมการเลี้ยงปลานิลในกระชังมากที่สุด 2,444.492 KgCO2eq /ราย และเกษตรกรรายที่ 1 มีการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นท์จากกิจกรรมการ เลี้ยงปลานิลในกระชังน้อยที่สุด 1,966.14 KgCO2eq /ราย เนื่องจากเกษตรกรแต่ละรายมีจำนวน อัตราการให้อาหาร และอัตราการใช้น้ำที่แตกต่างกัน

References

Department of Environmental Quality Promotion (DEQP). (2020). Manual of environmental studies activities “IPCC Forth Assessment Report-Climate Change 2007”. Retrieved from http://www.deqp.go.th. (in Thai)

Department of Treaties and strategic. (2014). What is greenhouse gas?. Retrieved from http://ghg.diw.go.th/ghgtempfile/Wed/index.php. (in Thai)

Jaitiang, T., Vorayos, N., & Kiatsiriroat, T. (2013). Energy potential and greenhouse gas emission of solid waste management in Chiang Mai University. Engineering Journal Chiang Mai University, 20(1), 12-21. (in Thai)

ManeeChote, T., & Sungniun, M. (2015). Carbon Dioxide emission assessment of biomass community based power plant from Napier Grass. Journal of Science and Technology, Ubon Ratchathani University, 18(1), 22-31. (in Thai)

Meesang, W. (2018). Trends composition and amount solid waste in Sam Phrao Sub-district, Udon Thani Province. Udon thani Rajabhat University Journal of Science and Technology, 6(1), 125-135. (in Thai)

Regional Office of Agricultural Economics 6. (2015). The study to estimate the greenhouse gas emissions from fresh Durian’s product in a green agricultural Chanthaburi Province. Bankok: Regional Office of Agricultural Economics 6. (in Thai)

Suwanprateep, J. (2018). Carbon Footprint. Retrieved from http://topcomengru471.blogspot.com/2017/03/carbon-footprint.html. (in Thai)

Thailand Greenhouse Gas management Organization (Public Organization). (2011). Carbon Footprint. Retrieved from http://www.tgo.or.th/2015/thai/content.php. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-26

ฉบับ

บท

บทความวิจัย