ผลของค่าความชุ่มชื้นผิวจากการใช้ผลิตภัณฑ์บาธบอมที่มีส่วนประกอบของสารสำคัญจากธรรมชาติ เพื่อสุขภาพผิวที่ดี

ผู้แต่ง

  • จันทรรัตน์ จาริกสกุลชัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • รัฐพล ศิลปรัศมี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • สุภางค์ กิจทิพย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • วรรยา ศรีนวล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • ทักษพร เกิดแจ้ง คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • พัทธมน จันทร์ชูผล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

คำสำคัญ:

ผิวแห้ง, การทดสอบในร่างกาย, ความชุ่มชื้นของผิว, ดีเกลือ, น้ำมันมะพร้าว, น้ำมันรำข้าว, บาธบอม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตำรับผลิตภัณฑ์มีผลต่อการเพิ่มความชุ่มชื้นของผิว มีความพึงพอใจหลังการใช้ผลิตภัณฑ์บาธบอมสำหรับเพิ่มความชุ่มชื้นของผิว หลังใช้ผลิตภัณฑ์ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่าการเพิ่มความชุ่มชื้นและความพึงพอใจหลังการใช้ผลิตภัณฑ์บาธบอมในกลุ่มที่มีผิวแห้ง สุขภาพดีจำนวน 20 คน วิธีการทดลองพัฒนาตำรับผลิตภัณฑ์ที่มีความคงตัวดีด้าน สี กลิ่น และลักษณะของผลิตภัณฑ์ ศึกษาแบบ Single blind control study ศึกษาประสิทธิภาพ และความพึงพอใจของการใช้ผลิตภัณฑ์ โดยวัดคุณสมบัติการเพิ่มความชุ่มชื้นของผิวหนัง ด้วยเครื่อง corneometer ที่ก่อนใช้ หลังใช้ 30 นาที หลังใช้ 7 วัน และหลังใช้ 14 วัน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า p-value การทดสอบสถิติ Paired Sample T-Test ผลการศึกษาพบว่า หลังการใช้ผลิตภัณฑ์บาธบอมที่มีสาระสำคัญจากธรรมชาติ สามารถเพิ่มความชุ่มชื้นกับผิวหนังเป็นระยะเวลา 30 นาที เท่ากับร้อยละ 46.99+10.32 (ที่ความเชื่อมั่น 95%, P<.05 ) หลังการใช้ผลิตภัณฑ์บาธบอมสามารถเพิ่มความชุ่มชื้นกับผิวหนังเป็นระยะเวลา 7 วัน เท่ากับร้อยละ46.53+10.45 (ที่ความเชื่อมั่น 95%, P<.05) หลังการใช้ผลิตภัณฑ์บาธบอมสามารถเพิ่มความชุ่มชื้นกับผิวหนังเป็นระยะเวลา 14 วัน เท่ากับร้อยละ 47.62+8.84 (ที่ความเชื่อมั่น 95%, P<.05) ในการประเมินความพึงพอใจโดยแบบสอบถามด้านกายภาพ ด้านการใช้งาน ด้านประสิทธิภาพ และด้านการคำแนะนำอาสาสมัครส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 38.34 76.9 38.5 และ 61.5 ตามลำดับ ในการประเมินความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจการใช้ผลิตภัณฑ์และร้อยละการเพิ่มขึ้นของค่าความชุ่มชื้น พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ระดับร้อยละ 95

References

Aiempanakit, K. (2020). Manifestation of skin. Retrieved from https://meded.psu.ac.th/binlaApp/class02/orentration/Manifestation_of_skin/index.html. (in Thai)

Bao Kham, P., Saengthong, T., Suchanwattanakun, N., & Saenakham, M. (2020). Development of moisturizing products from okra extract, Agricultural Journal, 36(2), 280-288. (in Thai)

E. Berardesca European Group for Efficacy Measurements on Cosmetics and Other Topical Products (EEMCO). (1997). EEMCO guidance for the assessment of stratum corneum hydration: Electrical methods. Skin Research and Technology, 3(2), 126-13. doi: 10.1111/j.1600-0846.1997.tb00174.x

Haratake, A., Uchida, Y., Schmuth, M., Tanno, O., Yasuda, R., Epstein, J. H., Elias, P. M., & Holleran, W. M. (1997). UVB-induced alterations in permeability barrier function: Roles for epidermal hyperproliferation and thymocyte-mediated response. Journal of Investigative Dermatology, 108(5), 769-775. https://doi.org/10.1111/1523-1747.ep12292163.

Hashizume, H. (2004). Skin aging and dry skin. The Journal of Dermatology, 31(8), 603-9. https://doi.org/10.1111/j.1346-8138.2004.tb00565.x

Jennings, B. H., & Akoh, C. C. (2009). Characterization of a rice bran oil structured lipid. Journal of Agricultural and Food Chemistry, 57(8), 3346-50. doi: 10.1021/jf803825m.

Juliano, C., Cossu, M. l., Alamanni, M. C., & Piu, L. (2005). Antioxidant activity of gamma-oryzanol: Mechanism of action and its effect on oxidation stability of pharmaceutical oils. International Journal of Pharmaceutics, 299(1-2), 146-154. doi: 10.1016/j.ijpharm.2005.05.018

Jutiviboonsuk, A. (2013). Utilization of natural antioxidants in the prevention of Ultraviolet-Induced skin damage. Srinakharinwirot University Journal (Science and Technology), 5(10), 110-127. (in Thai)

Kliangprom, J., & Putivanit, S. (2017). Prevention of skin breakdown in the older person the Southern College Network. Journal of Nursing and Public Health, 4(3), 249-258. (in Thai)

Klongpityapong, P., Supabphol, R., & Supabphol, A. (2013). Antioxidant effects of Gamma-Oryzanol on human prostate cancer cells. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention, 14(9), 5421-5425. doi: 10.7314/APJCP.2013.14.9.5421

Klongpityapong, P., & Jaricksakulchai, J. (2019). Development of pharmaceutical preparation from rice bran oil for health promotion. EAU Heritage Journal Science and Technology, 13(2), 1-16. (in Thai)

Penprapai, P., Intharit, S., & Jantarat, C. (2018). The development of coconut oil with extracted Curcuma Xanthorrhiza Roxb. extracts for face cream (Research report). Nakhon Si Thammarat: Nakhon Si Thammarat: Rajamangala University of Technology Srivijaya. (in Thai)

Petruk, G., Giudice, R. D., Rigano, M. M., & Monti, D. M. (2018). Antioxidants from Plants Protect against Skin Photoaging. Oxidative Medicine and Cellular Longevity, 2018(Special Issue), 1-11. https://doi.org/10.1155/2018/1454936

Poonsuk, P., Lueangingkhasut, P., & Mekjarusku, C. (2016). Development of body lotions prepared from `Puag-Haad´. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences (IJPS), 11(Suppl.), 61-69. (in Thai)

Rosado, C., Pedro Pinto, P., & Rodrigues, L. M. (2009). Assessment of moisturizers and barrier function restoration using dynamic methods. Skin Research and Technology, 15(1), 77-83. https://doi.org/10.1111/j.1600-0846.2008.00331.x

Sayowan, W., Saetan, T., Otbamrung, W., & Phungphol, J. (2018). The effects of Peppermint Oil inhalation on autonomic nervous system, and spatial abilities. The Journal of Prapokklao Hospital Clinical Medical Education Center, 35(1), 8-17. (in Thai)

Shweta, K., & Swarnlata, S. (2020). Formulation and evaluation of moisturizer containing herbal extracts for the management of dry skin. Pharmacognosy Journal, 2(11), 409-417. https://phcogfirst.com/sites/default/files/PJ_2_11_9.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-07-04

ฉบับ

บท

บทความวิจัย