ปัจจัยและพฤติกรรมการบริโภคอาหารต่อภาวะอ้วนในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา

ผู้แต่ง

  • กัมปนาท คำสุข คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาลัยนครราชสีมา
  • จริยา เสาเวียง คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาลัยนครราชสีมา
  • บานเย็น ล้านภูเขียว คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาลัยนครราชสีมา
  • ปาริชาติ อ้นองอาจ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาลัยนครราชสีมา
  • ภรณ์ทิพย์ ชัยสว่าง คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาลัยนครราชสีมา

คำสำคัญ:

พฤติกรรมการบริโภคอาหาร, ภาวะอ้วน, นักศึกษา

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยและพฤติกรรมการบริโภคอาหารต่อภาวะอ้วนในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โดยทำการรวบรวมข้อมูลจากอาสาสมัครโดยใช้แบบสอบถามในกลุ่มนักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 152 คน ผลจากการศึกษาพบว่า นักศึกษามีภาวะอ้วนร้อยละ 25.66 โดยเป็นภาวะอ้วนในระดับที่ 1 ร้อยละ 9.87 ระดับที่ 2 ร้อยละ 12.50 และระดับที่ 3 ร้อยละ 3.29 ซึ่งพบว่าปัจจัยพื้นฐาน เช่น การออกกำลังกาย รายได้ของครอบครัว มีแนวโน้มที่จะส่งผลให้เกิดโรคอ้วน ส่วนด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เช่น การรับประทานอาหารที่ประกอบด้วยน้ำตาล ไขมัน และอาหารที่มีรสเค็มส่งผลให้เกิดภาวะอ้วนในกลุ่มนักศึกษา

 

 

References

Lekuthai, W., Ingsrisawang, L., Suksomboon, N., & Teerawattananon, Y. (2011). Factors affecting obesity among undergraduate students in Chiang Mai Province. Journal of Health Systems Research, 5(3), 299-30. (in Thai)

Maneetup, K, & Daenseekaew, S. (2017). Situation of salt intake among people with hypertension in Thangkhuang Sub-district, Waengnoi District, Khonkaen Province. Journal of Nursing and Health Car, 35(4), 140-149. (in Thai)

Na Wichian, N., Pasunon, P., & Chantuk, T. (2018). Factors that affect the obesity of personnel in The Air Technical Training School, Directorate of Education and Training, The Royal Thai Air Force. Journal of Nursing, 36(2), 58-67. (in Thai)

No-in, K. (2018). Overweight and obesity among Thai School-Aged Children and Adolescents. Journal of The Royal Thai Army Nurses, 18(Suppl.), 1-8. (in Thai)

Piemnithikul, P., Bandhukul, A., & Rattanamongkolgul, S. (2013). Overweight, obesity and sickness absenceamong the workers in an automotive parts factory. Journal of Medicine and Health Sciences, 20(1), 21-28. (in Thai)

Pudcharakuntana, P., Khungtumneam, K., & Durongritichtichai, V. (2015). The factors asociated to the prevalence of obesity in adults in Bang Sao Thong Municipality, Samuth Prakan Province. Journal of The Royal Thai Army Nurses, 16(2), 131-139. (in Thai)

Ravinit, P., & Sattam, A. (2016). Factor associated with the metabolic syndrome in Chamab Sub-district, Wang Noi District, Ayutthaya Province. APHEIT International Journal, 5(2), 33-47. (in Thai)

Ruangying, J., & KandaJanyam, S. (2016). Food consumption behavior of adolescents in Songkhla Province:Synthesisof literacy and factors influencing food consumption behavior. Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University, Hat Yai Campus, 8(1), 245-264. (in Thai)

Srivijaya, C., Yoosuk, P., & Phraepasa, W. (2013). Obesity situation of students in Prathom Suksa 1-6 in Jindaram and Tanyasitsin. EAU Heritage Journal Science and Technology, 7(2), 40-45. (in Thai)

Tritipsombut, J., & Kala, N. (2016). Dietary and Health Practices among the Overweight and Obese Students. Srinagarind Medical Journal, 31(4), 224-290. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-07-04

ฉบับ

บท

บทความวิจัย