ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการจัดการของเสียอันตรายในครัวเรือนของประชาชน อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

ผู้แต่ง

  • สรัญญา ถี่ป้อม สาขาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • สุกัลยา ทองเสริม สาขาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

ความรู้, ทัศนคติ, พฤติกรรมการจัดการของเสียอันตรายในครัวเรือน

บทคัดย่อ

การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางเป็นการศึกษา ณ จุดเวลาหรือช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ทำการเก็บข้อมูลเพียงครั้งเดียว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการจัดการของเสียอันตรายในครัวเรือนของประชาชนหมู่บ้านแห่งหนึ่ง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก มีจำนวนกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 287 ครัวเรือน โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยมีการสุ่มตัวอย่างเป็นระบบ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS version 20 โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์จำนวน ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า ประชาชนที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 58.20 มีอายุอยู่ระหว่าง 34–47 ปี ร้อยละ 36.90 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 31,333 บาท ร้อยละ 98.30 โดยประชาชนส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาอยู่ที่ประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 49.50 มีสถานภาพสมรสส่วนใหญ่ คือ สมรส คิดเป็นร้อยละ 66.90 การได้รับข้อมูลข่าวสาร คือ เคย คิดเป็นร้อยละ 89.90 มีสถานภาพในครอบครัว คือ สมาชิกครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 91.30 และการมีตำแหน่งอื่นในชุมชน คือ ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 94.80 ประชาชนส่วนใหญ่มีระดับความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 85.70, 74.60 และ 71.40 ตามลำดับ พบว่า ประชาชนที่มีระดับการศึกษาสูง เป็นหม้าย มีระดับการรับรู้ข้อมูลข่าวสารสูง อาชีพนักเรียน/นักศึกษา มีระดับความรู้สูง และทัศนคติเชิงบวก จะมีพฤติกรรมการจัดการของเสียอันตรายในครัวเรือนที่เหมาะสม (p<.001 p=.009 p<.001 p<.001 p<.001 และ p<.001 ตามลำดับ) จากผลการศึกษาที่ได้ควรมีการศึกษารูปแบบกิจกรรมการให้ความรู้หรือเสริมทัศนคติเชิงบวกเพื่อให้ประชาชนมีการจัดการของเสียอันตรายในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธี หรือนำไปสู่การดูแลตนเองที่ดีและเหมาะสมกับพฤติกรรมของประชาชนอย่างยั่งยืนต่อไป

References

Bassi, S. A., Christensen T. H., & Damgaard, A. (2018). Environmental performance of household waste management in Europe-An example of 7 countries. Waste Management, 69, 545-557. doi: 10.1016/j.wasman.2017.07.042

Best, J. W. (1997). Research in education. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hell.

Bloom, S. B. (1975). Human characteristics and school learning. New York: McGraw Hill.

Gibson, J. (2000). Organization, Behavior, Structure, Processes. New York: McGraw-Hill.

Hospers, J. (1996). An Introduction to Philosophical Analysis. (Prentice Hall): Pearson.

Department of Environmental Quality Promotion. (2019). Situation for pollution in 2019. Retrieved from http://www.pcd.go.th/file/Thailand%20Pollution%20Report%202018_Thai.pdf. (in Thai)

Hongthong, P., & Chaichalerm, S. (2017). Effect of Behavioral Program for Behavior Modification of Solid Waste Management in Pongprasarts Ubdistrict, Bangsapan District, Prachuap Khiri Khan Province. Research 4.0 Innovation and Development SSRU’s 80th Anniversary, 1(8), 1864-1874. (in Thai)

Khongpirun W., Thiphom, S., & Chanthorn, W. (2017). Factors associated with waste management behaviors among Pongpa Village, Kaeng Sopha Sub-district, Wang Thong District, Phitsanulok Province, Thailand. Journal of Health Science, 26(2), 310-321. (in Thai)

Kaewprayoon, S. (2015). Knowledge, attitude and behavior in household waste management of people in Khuanlang Municipality, Hat Yai District, Songkhla Province (Master's thesis). Hatyai University. Songkhla. (in Thai)

Kaiwan, Y. (2015). The main research and statistics using SPSS program. Bangkok: Chulalongkorn University. (in Thai)

Khongnork, P. (2012). A study on waste management of population in Don Wai Non Sung Municipal District, Nakhon Ratchasima (Master's thesis). Suranaree University. Nakhon Ratchasima (in Thai)

Nateewattana J., & Tienthavor V. (2017). Knowledge and attitude to waste reduction behavior of Mae Ka community, Muang District, Phayao Province. Thai Science and Technology Journal, 25(2), 316-330. (in Thai)

Phungmuai, T. (2012). The Problem of garbage and solid waste management model appropriate to the Wongkong prompiram District Phitsanulok Province to Sustainable development (Master's thesis). Pibulsongkram Rajabhat University. Phitsanulok (in Thai)

Pollution Control Department. (2010). Manual for hazardous waste separation from community. Retrieved from http://www.ss-muni.go.th/ss-muni/mainfile/uploadsfiles135.pdf. (in Thai)

Pollution Control Department. (2017). Major plan for waste management in Thailand (during 2016-2021). Retrieved from https://bit.ly/36nreZ1 (in Thai)

Pollution Control Department. (2017). Report for hazardous waste in community in 2017. Retrieved from https://bit.ly/31Zhtg8 (in Thai)

Pollution Control Department. (2018). Chemical and hazardous waste. Retrieved from http://www.pcd.go.th/info_serv/haz_chemicals_use.html (in Thai)

Rovinelli, R.J., & Hambleton, R.K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60. https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED121845.pdf.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. Newyork: Harper and Row Publication.

Uparasit, K., Na ChiangMai, N., & Chawapong, W. (2015). Household behavior on solid waste management in Sunpong Municipality, Maerim District, Chiangmai Province. Journal of graduate research, 6(2), 163-171. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-04-16

ฉบับ

บท

บทความวิจัย