โรคซึมเศร้าปัญหาสุขภาพใกล้ตัว

ผู้แต่ง

  • ภัคจิรา ภูสมศรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

คำสำคัญ:

โรคซึมเศร้า/สุขภาพจิต

บทคัดย่อ

โรคซึมเศร้าเป็นกลุ่มอาการความผิดปกติทางด้านอารมณ์ ด้านความคิด ด้านร่างกาย และด้านพฤติกรรม ซึ่งอาการสำคัญ ได้แก่ อารมณ์ซึมเศร้า และความรู้สึกเบื่อหน่าย หดหู่ ร่วมไปกับความรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง สิ้นหวัง มองโลกในแง่ร้าย รู้สึกตนเองไม่มีคุณค่า ท่าทางการเคลื่อนไหวที่เชื่องช้า เซื่องซึม เบื่ออาหาร น้ำหนักลด นอนไม่หลับ หมดหวังในชีวิต จนอาจนำไปสู่การทำร้ายตัวเองหรือการฆ่าตัวตายได้ในที่สุด โรคซึมเศร้ามีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย เช่น ความผิดปกติทางพันธุกรรม ปัจจัยด้านการเปลี่ยนแปลงที่ไม่สมดุลของสารสื่อประสาทในสมอง ปัญหาทางด้านจิตใจและสังคม จะเห็นได้ว่าสาเหตุของการโรคซึมเศร้าเกิดทั้งปัจจัยภายในและภายนอก ที่สามารถควบคุมได้และควบคุมไม่ได้ ซึ่งโรคซึมเศร้าเป็นโรคที่สามารถรักษาให้หายได้ ได้แก่ การรักษาด้วยยารักษาโรคซึมเศร้า การรักษาด้วยไฟฟ้า การรักษาทางด้านจิตใจ หรือการทำจิตบำบัด และการบำบัดรักษาด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างเสริมศักยภาพให้ผู้มีภาวะซึมเศร้าสามารถมองเห็น รู้จักและเข้าใจตนเอง รู้สึกมีคุณค่าในตนเอง

References

Akiskal, H. S. (1995). Mood disorders: Introduction and overview. In: H. I. Kaplan & B.J. Sadock (Eds.) Comprehensive textbook of psychiatry/VI, vol 1. Baltimore: Williams & Wilkins.

Akwarangkoon, S. (2011). Understand and take care of depression. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)

Beck, A. T. (1973). The Diagonsis and managent of depression. Philadelpgia: University of Pensilvania Press.

Department of Mental Health. (2019). Department of Mental Health worried about “Thai youth” having depression suggest to those around you to listen with understanding. Retrieved from https://gnews.apps.go.th/news?news=41688. (in Thai)

Hongsrisawan, N. (2016). Depression. Journals Hua Chiew Chalermprakiet University, 19(38),105-118. (in Thai)

Lortraku,l M., & Sukhanit, P. (2015). Ramathibodi Psychiatry. Bangkok: Department of Psychiatry (Master’s thesis). Mahidol University, Nakhon Pathom. (in Thai)

Lueboonthavatchai, O., & Lueboonthavatchai, P. (2010). Psychosocial treatment for depressive disorder. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)

Sadock, B. J., & Sadock, V. A. (2007). Kaplan and Sadock’s Synopsis of Psychiatry: Behavioral Sciences/Clinical Psychiatry (10th ed). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins.

Sitthiphonanan, P. (2007). Suicide due to depressive disorder. Bangkok: Near the doctor. (in Thai)

Thai Health Promotion Foundation. (2009). Worried about teen suicide risk depression. Retrieved from https://www.thaihealth.or.th/Content/49151-2.html. (in Thai)

Thanudom, K. (2019). Prevent Depression. Retrieved from https://www.thaihealth.or.th/Content/49170-7%20. (in Thai)

The Royal College of Pediatricians of Thailand & Pediatric Society of Thailand. (2018). Clinical practice guideline for adolescents with depression. Retrieved from http://www. thaipediatrics.org/Media/media-20200312101740.pdf. (in Thai)

Vacarolis, E. M. (2002). Foundation of Psychiatric Mental Health Nursing (4th ed.). Philadelphia: W.B. Saunders.

Weissman M. M., Markowitz, J. C., & Klerman, G. L. (2000). Comprehensive guide to Interpersonal Psychotherapy. New York: Basic Book 2000

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-08-27

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ