ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติการณ์การเสียชีวิตกับการตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือดของผู้เสียชีวิตชาวไทยที่ส่งตรวจที่สถาบันนิติเวชวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ

ผู้แต่ง

  • สมทรง ลาวัณย์ประเสริฐ School of Pharmacy, Eastern Asia University
  • ศิริรัตน์ พรหมหิตาธร กลุ่มงานพิษวิทยา สถาบันนิติเวชวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ
  • วชิรวิชญ์ ตั้งธนานุวัฒน์ กลุ่มงานพิษวิทยา สถาบันนิติเวชวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ
  • ธีรินทร์ สินไชย กลุ่มงานพิษวิทยา สถาบันนิติเวชวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ
  • สิตานัน รักธรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
  • รัชดาพร สงวนนาม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
  • กฤษดา อนันตวุฒิกุล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

คำสำคัญ:

แอลกอฮอล์, พฤติการณ์การเสียชีวิต, หลังจากเสียชีวิต

บทคัดย่อ

การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญเกี่ยวข้องกับการเสียชีวิตผิดธรรมชาติ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติการณ์การเสียชีวิตกับการตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือดของ ผู้เสียชีวิตชาวไทยที่ถูกส่งมาชันสูตรที่ สถาบันนิติเวชวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ ระหว่าง 1 ตุลาคม 2560 – 31 กันยายน 2561 รวม 4,003 ราย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์ทางสถิติชนิด Pearson Chi-square และ Cramer’s V ผลการศึกษาพบว่า การตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือดของผู้เสียชีวิตมีความสัมพันธ์ปานกลางกับเพศ พฤติการณ์การเสียชีวิตมีความสัมพันธ์อย่างเข้มแข็งกับการตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือด การมีแอลกอฮอล์ในเลือด เพิ่มความเสี่ยงสัมพัทธ์อย่างมีนัยสำคัญในพฤติการณ์การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ การถูกผู้อื่นทำให้เสียชีวิต และการฆ่าตัวตายใน 3 พฤติการณ์ดังกล่าวนี้ ผู้เสียชีวิตจากสาเหตุอุบัติเหตุจราจรทางบก การเสียชีวิตจากการถูกผู้อื่นทำให้เสียชีวิตโดยการแทง และการเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายโดยการยิงตัวตาย มีเปอร์เซ็นต์สูงที่มีการตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือด ผลการศึกษานี้ทำให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการนำมาใช้ประกอบการวางมาตรการการป้องกันการเสียชีวิตที่อาจเกิดขึ้นจากสาเหตุของการดื่มเครื่องดื่ม

References

References

Cabinet and Royal Gazette Publishing Office. (1994). Ministerial regulation no.16 (B.E. 2537) issued under the road traffic act, B.E. 2522. Retrieved April 5, 2019, from

https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2537/A/054/56.PDF. (in Thai)

Cabinet and Royal Gazette Publishing Office. (2017). Ministerial regulation no.21 (B.E. 2560) issued under the road traffic act, B.E. 2522. Retrieved April 5, 2019, from

https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/059/1.PDF. (in Thai)

Hingson, R., & Winter, M. (2003). Epidemiology and consequences of drinking and driving. Report prepared for the National Institute on Alcohol Abuse and Alcoholism. Boston, Massachusetts. Retrieved May 29, 2019, from https://pubs.niaaa.nih.gov/publications/arh27-1/63-78.htm.

Jung-in, K., & Pinitsoontorn, S. (2017). Drinking behavior and impacts to families of alcoholic drinking who received treatment in Thanyarak Hospital, UdonThani. Community Health Development Quarterly KhonKaen University, 5(3), 487-501. (in Thai)

Koranee, R., Aunchai, C., Ditsawan, A., Pomyai, S., & Vinissorn, T. (2017). A study of blood alcohol level among cases of traffic accidents in the Health Service Region 3 years 2014-2016. Journal of Health Sciences, 26(2), 281-289.

Narongchai, S., & Narongchai, P. (2006). The prevalence of detectable blood alcohol concentration among unnatural deaths in Northern Thailand. Journal of the Medical Association of Thailand, 89(6), 809-813. (in Thai)

Office of the Council of State. (1934). Act promulgating the Criminal Procedure Code B.E. 2477. Retrieved April 5, 2019, from https://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%BB05/%BB05-20-9999-update.pdf.

Office of the Council of State. (2008). Alcohol control act, B.E. 2551. Retrieved June 4, 2019, from https://www.krisdika.go.th/librarian/get?sysid=571438&ext=pdf.

Olson, K. R. (2012). Poisoning and drug overdose (6th ed.). New York: McGraw-Hill.

Ratanavalachai, T. (2014). Biochemical alcohol intoxication. Thammasat Medical Journal, 14(3), 405-430. (in Thai)

Sheehan, C. M., Rogers, R. G., William IV, G.W., & Boardman, J. D. (2013). Gender differences in the presence of drugs in violent deaths. Addiction, 108(6), 547-555.

Tangjai, N., Chaiyasong, S., & Ratnachodpanich, T. (2018). Associations between alcohol consumption and injuries in emergency room patients: A case-crossover study. Proceedings of the 14th Mahasarakham University Research, Mahasarakham Province, Thailand. Mahasarakham: Mahasarakham University. (in Thai)

Taylor, B., & Rehm, J. (2012). The relationship between alcohol consumption and fatal motor vehicle injury: High risk at low alcohol levels. Alcoholism: Clinical and Experimental Research, 36(10), 1827-1834.

Thitachote, P., & Tookdee, B. (2015). A retrospective study on occurrence of drowning deaths with presence of alcohol and/or drugs-autopsy performed by the Central Institute of Forensic Science (2010-2014). The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health, 2(3), 103-113.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-04-19

ฉบับ

บท

บทความวิจัย