ผลการใช้สื่อวีดิทัศน์ต่อพฤติกรรมการป้องกันฟันผุในนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย ในจังหวัดตรัง

Main Article Content

ขวัญตา บุญวาศ

Abstract

This quasi-experimental research aimed to study using a health education video on dental
caries preventive behaviors among school children grade 4-6 inTrang province. Sample was 60 students
that were randomly assigned in 2 groups (30 students / group), it is to say an experimental group and
a control group, by matching their age, gender, level of education, and result of dental examination
in the past year. The research instruments were: 1) the health education video about dental caries
preventive behaviors, 2) a questionnaire used for measuring the dental caries preventive behaviors
which was including 3 parts: knowledge, perceived self-efficacy with outcome expectancy, and practice
to prevent dental caries. Content validity of the research instruments was confirmed by a panel of three
experts. Reliability of the questionnaire was tested using Cronbach’s alpha coefficient yielding a value
of  0.82. Data were analyzed using percentage, standard deviation, and unpaired t-test
The results showed as follows
1. After the trial, the experimental group had mean score of the dental caries preventive
behaviors significantly higher than the control group (p<.05).
2. After the trial, the experimental group had mean score of the dental caries preventive
behaviors in term of knowledge, perceived self-efficacy, outcome expectancy, and practices to
prevent dental caries significantly higher than before the trial (p<.05).

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research articles)

References

1. กันตพร ยอดไชย. (2550). ผลการใช้สื่อวีดิทัศน์คาราโอเกะ เรื่องหลักการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ต่อความรู้ของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.วารสารสงขลานครินทร์เวชสารปีที่ 25 ฉบับที่ 6: 531-536.
2. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. (2556). รายงานผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 4 พ.ศ. 2555ประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1.กระทรวงสาธารณสุข, นนทบุรี.
3. ชิงชัย บัวทอง. (2558). ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านบางเหียน อำเภอปลายพระยาจังหวัดกระบี่. วารสารการพัฒนาชุมชนมหาวิทยาลัขอนแก่นปีที่ 3 ฉบับที่2 :293-306.
4. ณัฐนันท์ เกตุภาค. (2554). ผลของการให้ข้อมูลโดยใช้สื่อวีดิทัศน์ต่อความรู้และการปฏิบัติของผู้ป่วยในการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล. วารสารพยาบาลสารปีที่ 38ฉบับที่ 3 :98-111.
5. วารุณี โสวรรณรัตน์. (2550). ประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตคณะสาธารณสุขศาสตร์.
6. สุธัญญา นวลประสิทธิ์. (2553). ผลของการใช้สื่อวีดิทัศน์โปรแกรมการดูแลตนเองต่อความรู้และความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคต้อกระจกและญาติผู้ดูแล.วารสารสภาการพยาบาลปีที่ 25 ฉบับที่ 2 :78-90.
7. อำภา ทาเวียง. (2552). ผลการใช้สื่อวิดีทัศน์ต่อการมีส่วนร่วมของมารดาเพื่อบรรเทาปวดในทารกแรกเกิดที่ได้รับการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ.วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
8. Orem, D.E. (1995). Nursing: Concepts of practice(6 th ed) St. Louis, MO.C.V.Mosb.
9. Potter, W. J. (2005). Media Literacy. (3rd ed.). SagePublications, Inc. United State of America