การป้องกันนักสูบหน้าใหม่ สังคมไทยต้องเปลี่ยนแปลง

Main Article Content

จีรภัทร์ รัตนชมภู
ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน

บทคัดย่อ

          บุหรี่เป็นสารเสพติดที่ถูกกฎหมายทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์ว่าการสูบบุหรี่ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง องค์การอนามัยโลกได้มีการสร้างกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบหรือ Framework Convention on Tobacco Control (FCTC) เพื่อให้แต่ละประเทศนำไปประยุกต์ใช้ในการควบคุมยาสูบ การดำเนินงานควบคุมยาสูบของประเทศไทยได้รับการยอมรับจากทั่วโลกโดยเฉพาะกฎหมายเพื่อการควบคุมยาสูบ ซึ่งทั่วโลกยกย่องประเทศไทยว่ามีกฎหมายที่ดีที่สุด แต่ยังมีผู้สูบรายใหม่หรือนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นอยู่เสมอ โดยเฉพาะนักสูบหน้าใหม่ที่เป็นเยาวชน จากการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ในปี 2560 พบว่า ประชากรไทยเริ่มสูบบุหรี่เมื่ออายุ 18 – 19 ปี และมีอายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่ คือ 16 ปี การเกิดนักสูบหน้าใหม่ที่เป็นเยาวชนมีหลายสาเหตุ กล่าวคือ ตนเอง เพื่อน ครอบครัวและสิ่งแวดล้อม บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการป้องกันนักสูบหน้าใหม่ที่เป็นเยาวชนซึ่งสังคมไทยต้องสร้างการเปลี่ยนแปลง ครอบคลุมสาเหตุของการเกิดนักสูบหน้าใหม่  ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงระดับนโยบาย กฎหมาย และมาตรการต่างๆในการป้องกันนักสูบหน้าใหม่ การเปลี่ยนแปลงระดับสังคมและวัฒนธรรมในการป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ และการเปลี่ยนแปลงระดับบุคคลในการป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวถือเป็นความท้าทายอย่างมากของประเทศไทย แต่เป็นสิ่งที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้และสามารถป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ได้อย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Academic article)

References

Academic Service Centre Burapha University. (2015). The third hand smoke more dangerous than you think. Retrieved (2018, May 09) from http://www.uniserv.buu.ac.th (in Thai)

Academic development group Tobacco Control Bureau. Ministry of Public Health (2016) Strategic plan National Tobacco Control to sustainable development. :N.P. (in Thai)

Bureau of Tobacco Control (2015). Tobacco consumption international survey: N.P. (in Thai)

Chidnayee, S. & Yottavee, W. (2018) Factors Related with Smoking Behaviors of Youth at Uttaradit. Boromarajonani College of Nursing, Uttaradit Journal, 10(1), 83 – 93. (in Thai)

Gorini, G. et al. (2014). Effectiveness of a school-based multi-component smoking prevention intervention: The LdP cluster randomized controlled trial. Preventive Medicine: N.P.

Health link. (2015). The harmful effects of second-hand smoke. British Columbia: N.P.

Matsee, C. & Waratwichit. C. (2017) Promotion of health literacy: from concept to practice. Boromarajonani College of Nursing, Uttaradit Journal, 9(2), 96 –111. (in Thai)

Mental Health Center 4. (2017). Drugs: Thailand youth need to know but do not try. Retrieved (2018, May 09) from http://www.mhcr4.go.th/doc-13.html ( in Thai )

Pittayarangsarid, S. (2018). Thailand tobacco consumption statistics report in 2018. Bangkok. Charoen dee Mankong Publisher. ( in Thai )

Pittayarangsarid, S. (2017). 25 years summarize Thailand tobacco consumption control report since 1990 to 2017. Bangkok.Charoen dee Mankong Publisher. ( in Thai )

Pittayarangsarid, S. et al. (2017). Five sides of surveillance situation to control tobacco consumption report. Bangkok. Charoen dee Mankong Publisher. ( in Thai )

Puettipinyo, C. (2015). Comprehensive tobacco control laws and policies. Public Health & Health Laws Journal, 3, 254 - 271 ( in Thai )

Sopontammarak, A. (2015). Thailand youth drugs prevention in term of tobacco addicted protechtion. Retrieved (2018, May 09) from http://www.thaihealth.or.th (in Thai )

Thai encyclopedia for youth (2004). The effect of tobacco smoking. Retrieved (2018, May 09) from http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/ ( in Thai )

Thai Health Promotion Foundation (2017). Tobacco can control by community base. Bangkok. Cokoon and Core. ( in Thai )

The Research and Knowledge Management Center for Tobacco Control (2015). Fact document about the new tobacco product control act of legislation: N.P. ( in Thai )