การประเมินและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด
คำสำคัญ:
การประเมิน, การพยาบาล, ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด, ภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด, ผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือดบทคัดย่อ
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือดนับว่าเป็นภาวะวิกฤตที่ผู้ป่วยจะต้องเผชิญกับความรุนแรงและอันตรายถึงชีวิต เมื่อมีการติดเชื้อในกระแสเลือด จะส่งผลให้การทำงานของอวัยวะสำคัญของร่างกายเสียหน้าที่ จนเกิดอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ และทำให้เสียชีวิตในที่สุด หากประเมินผู้ป่วยได้ในระยะแรก ก็จะทำให้การค้นหาสาเหตุ การวินิจฉัย และให้การรักษาพยาบาลได้อย่างรวดเร็ว หากพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยสามารถประเมินภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดได้แต่เนิ่น ๆ และรวดเร็ว จะช่วยลดภาวะแทรกซ้อน และลดอัตราการตายของผู้ป่วยได้ การประเมินการติดเชื้อในกระแสเลือดที่สำคัญประกอบด้วยการซักประวัติและการประเมินสภาพผู้ป่วย การเลือกใช้เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพจะช่วยให้การประเมินผู้ป่วยได้ผลดี โดยเฉพาะสัญญาณเตือนการติดเชื้อในกระแสเลือด ที่จะช่วยในการประเมินผู้ป่วยในระยะแรกได้อย่างรวดเร็ว ได้แก่ การประเมินและการค้นหาผู้ป่วยที่สงสัยการติดเชื้อในกระแสเลือด (Search Out Severity: SOS), การประเมินอวัยวะล้มเหลวจากการติดเชื้อในกระแสเลือดแบบเร็ว (Quick Sequential Organ Failure Assessment: qSOFA), แบบประเมินการล้มเหลวของอวัยวะ (Sequential Organ Failure Assessment: SOFA), คะแนนแจ้งสัญญาณเตือนอันตราย (Modified Early Warning Signs: MEWS) บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการประเมินและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด ที่จะช่วยให้พยาบาลประเมินผู้ป่วยในระยะแรกได้อย่างรวดเร็ว (Early Detection) และให้การรักษาพยาบาลตามแนวทางเวชปฏิบัติที่มีคุณภาพ ผู้ป่วยเกิดความปลอดภัย
References
Chiranakorn, C. (2017). “Sepsis-3 Definition: Does it work? In Stawon, D., Piyavechviratana, K., & Poonyathawon, S.” The Best ICU. (pp. 135-142). Bangkok: Beyond Enterprise. (in Thai)
Doyle, J. D. (2018). Clinical Early Warning Scores: New Clinical Tools Evolution. The Open Anesthesia Journal, 12, 26-33.
Kalantari, A., & Rezaie, S. R. (2019). Review Article: Challenging the One-Hour Sepsis Bundle. Western Journal of Emergency Medicine, 20(2), 185-190.
Levy, M. M., Evans, L. E., & Rhodes, A. (2018). The Surviving Sepsis Campaign Bundle: 2018 update. Intensive Care Medicine, 44(6), 925-928.
Makic, F. B. M., & Bridges, E. (2018). Managing Sepsis and Septic Shock: Current Guidelines and Definitions. American Journal Nursing, 118(2), 34-39.
Ministry of Public Health. (2019). Mortality Rate in Community Acquired Sepsis. Health Data Center: HDC. Retrieved September 16, 2019 from https://kkcard.moph.go.th/sepsis/template_sepsis2562.pdf.
Nakchuay, N., Inprasong, L., Tuntrakul, W., Tongbai, P., & Juntanu, P. (2017). MEWS: Adult Pre Arrest Sign and Roles of Nurse. Siriraj Medical Bulletin, 10(3), 186-190.
Pinyokham, N., & Tachaudomdach, C. (2017). Nursing Care of Patient with Shock. In Soivong, P. Medical Nursing. Chiangmai: Smart coating & Service.
Rhodes, A., Evans, L. E., Alhazzani, W., Levy, M. M., Antonelli, M., Ferrer, R., et al. (2017). Surviving Sepsis Campaign: International Guidelines for Management of Sepsis and Septic Shock: 2016. Intensive Care Medicine, 43(3), 304-377.
Rhodes, A., Evans, L. E., Alhazzani, W., Levy, M. M., Antonelli, M., Ferrer, R., et al. (2017). Surviving Sepsis Campaign: International Guidelines for Management of Sepsis and Septic Shock: 2016. Critical Care Medicine, 45(3), 486-552.
Rosenberger, S. R., Von Rueden, K. T., & Des Champs, E. S. (2018). “Multisystem Dysfunction: Shock, Systemic Inflammatory Response Syndrome, and Multiple Organ Dysfunction Syndrome. In Morton, P.G., & Fontaine, D.K.” Critical Care Nursing: A Holistic Approach. (pp. 1049-1070). China: Wolters Klower.
Seckel, M. A. (2017). “Shock, Sepsis and Multiple Organ Dysfunction Syndromes. In Lewis, S. L., Bucher, L., Heitkemper, M. M., & Harding, M. M.” Medical-Surgical Nursing: Assessment and Management of Clinical Problems. (pp. 1587-1608). St. Louis: Elsevier.
Singer, M., Deutschman, C. S., Seymour, C. W., Shanker-Hari, M., Annan, D., Bauer, M., et al. (2016). The Third International Consensus Definitions for Sepsis and Septic Shock (Sepsis-3). JAMA, 315, 801-810.
Srivisai, T., & Onseng, V. (2017). Septic Shock: Challenges of Emergency Nurse. Boromarajonani College of Nursing, Uttaradit Journal, 9(2), 152-163. (in Thai)
Thompson, K., Venkatesh, B., & Finfer, S. (2019). Sepsis and Septic Shock: Current Approaches to Management. Internal Medicine Journal, 49, 160-170.
Vincent, J. L., Moreno, R., Takla, J., Willatt, S., De Mendonca, A., Bruining, H., et al. (1996). The SOFA (Sepsis-Related Organ Failure Assessment) Score to Describe Organ Dysfunction/Failure. Intensive Care Medicine, 22, 707-710.
Wattanawanit, W. (2017). “Surviving Sepsis Campaign 2016. In Stawon, D., Piyavechviratana, K., & Poonyathawon, S.” The Best ICU. (pp. 143-155). Bangkok: Beyond Enterprise. (in Thai)
William, J. M., Greenslade, J. H., McKenzie, J. V., Chu, K., Brown, A. F. T., & Lipman, J. (2017). Systemic Inflammatory Response Syndrome, Quick Sequential Organ Function Assessment, and Organ Dysfunction: Insights from a Prospective Database of ED Patients with Infection. Chest, 151(3), 586-596.
World Health Organization. (2017). Seventieth World Health Assembly Update, 26 May 2017. Retrieved September 16, 2019 from https://www.who.int/news-room/detail/26-05-2017-seventieth-world-health-assembly-update-26-may-2017/.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
1. บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารเครือข่าย วิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ ที่เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน บรรณาธิการหรือเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและวิทยาลัยการสาธารณสุขภาคใต้ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
2. บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้