ความรู้ความเข้าใจ และความต้องการในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ในกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุน้อย

ผู้แต่ง

  • มธุรดา บรรจงการ อาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ปราณีต จงพันธนิมิตร อาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • จีรภา ศรีท่าไฮ อาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • รุ่งนภา เขียวชะอ่ำ อาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

คำสำคัญ:

Self-Efficacy Enhancement, stroke risk, the young

บทคัดย่อ

         วิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความรู้ความเข้าใจ และความต้องการในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุน้อยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง ระหว่างเดือนมิถุนายน - เดือนกรกฎาคม 2565 กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่อาศัยอยู่ใน ตำบลท่าช้าง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี ที่จัดอยู่ในกลุ่มที่การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทย (Thai CV risk score) โอกาสเสี่ยงอยู่ในระดับปานกลาง และกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวังทั้งหมด จำนวน 20 คน ถูกเลือกแบบเฉพาะเจาะจง การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และรายงานผลการดำเนินการด้านการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่อยู่ในความรับผิดชอบ ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยสามารถจำแนกได้เป็น 3 แก่นสาระ คือ โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคของผู้สูงอายุพร่องความเข้าใจในการประยุกต์ใช้ความรู้สู่การปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง และการเรียนรู้จากความสำเร็จของผู้อื่น การวิจัยนี้เป็นข้อมูลสำคัญในการทราบถึงสถานการณ์ ความรู้ความเข้าใจ และความต้องการในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุน้อย รวมไปถึงเป็นแนวทางในการพัฒนาโปรแกรมการสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจ และความตระหนัก ในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุน้อย

References

Alebeek, M.E.V., et al. (2017). Risk factors and mechanisms of stroke in young adults: The Future study. Journal of Cerebral Blood Flow & Metabolism. 38 (9), 1631-1641.

Chantaraprapabkun, S., et al. (2018). Prevalence and etiologies of ischemic stroke in young patients in Bhumibol Adulyadej Hospital. J Thai Stroke Soc.17 (3): 5-14. (in Thai)

Chirasatienpon T., (2021). Young Stroke Prevention Program for University Lecturers with Risk Factors via Smartphone Application. Open Journal of Social Sciences, 2021, 9, 108-119 Retrieved 8 August 2022 from:https://www.scirp.org/journal/jss

Chuaintha, E., Kongbunkird, K., Sittiruk, A. (2022). Predictive Factors for Blood Pressure Control in Hypertensive patients in Muang Lampang District, Lampang. Journal of Health Sciences Scholarship, 9(1): 52-67. (in Thai)

Elo, S., Kääriäinen, M., Kanste, O., Pölkki, T., Utriainen, K., Kyngäs, H. (2014). Qualitative Content Analysis: A Focus on Trustworthiness. Retrieved 8 August 2022from:DOI: 10.1177/2158244014522633

Garfinkel H. (1967). Studies in Ethnomethodology. New Jersey: Prentice-Hall.

Kamkhiew, R., Mattavangkul, C., (2018). Stroke Warning Signs Perception, Self-care Behaviors and Family Support between Controlled and Uncontrolled Hypertensions in the Responsible Area of Bang-Krai-Nai Subdistrict Health Promoting Hospital, Nonthaburi Province. Disease Control Journal, 44 (2): 130-144. (in Thai)

Kongprasert, K., Wacharasin, S., Panmung, N., (2015). Evaluation of cardiovascular risk in Patients with Diabetes Mellitus and Hypertension. Division of Non Communicable Diseases, (2nded).Wvothaiprinting The War Veterans Organization of Thailand. (in Thai)

Markidan, J., et al. (2018). Smoking and Risk of Ischemic Stroke in Young Men. American Heart Association, Inc. 1276-1278.Mitchell AB, Cole JW, McArdle PF, et al. Obesity increases risk of ischemic stroke in young

adults. Stroke.2015; 46(6): 1690-1692.Polit D. F. and C. T. Beck. 2018. Essentials of Nursing

Research: Appraising Evidence forNursing Practice. (9th ed.) London: Lippincott Williams& Wilkins.

PhongphetditB. (2018). Participatory community-based in promoting self-care of patients with chronic diseases to prevent Stroke. Thai Journal of Cardio-Thoracic Nursing, 29(2): 2-11.(in Thai)

Santiprasitkul, S., Junlapeeya, P., (2017). Efficacy Enhancement Program on Health Outcomes of People Living with Hypertension Residing in Chiang Rai Province. Journal of Nursing and Health Care, 35(1), 100-109. (in Thai)

Schneider, S.; Kornejeva, A.; Vibo, R. (2017). Risk Factors and Etiology of Young Ischemic Stroke Patients in Estonia. Retrieved 8 August 2022 from: https://doi.org/10.1155/2017/8075697.

Subha, P.P., Geethakumari, S.M.P., Athira, M., Nujum, Z.T. (2015).Pattern and risk factors of stroke in the young among stroke patients admitted in medical college hospital, Thiruvananthapuram. Ann. Indian Acad. Neurol. 18(1), 20.

Suwanno, J., Suwanno J., Angkoon, K., Rajborirug, K. (2018). Cardiovascular Risk Factors in Young Adult Patients with Acute Ischemic Stroke. Journal of Thai Stroke Society, 17(2): 5-16 (in Thai)

Thimayom, P., Chuawanlee, W.,Jinnge, P. (2012). The Effect of Self-efficacy Program on Self-care Behavior of Hemiparesis Patients. Journal of Behavioral Science for Development. 4 (1): 63-73. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-07

ฉบับ

บท

บทความวิจัย